เชิญร่วมงาน รวมพลังสายใย...เสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้ป่วยลมชัก วันจันทร์ที่ 21 พ.ย.62 เวลา 9.00-15.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 5 รพ.พระมงกุฎเกล้า

เชิญร่วมงาน รวมพลังสายใย...เสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้ป่วยลมชัก วันจันทร์ที่ 21 พ.ย.62 เวลา 9.00-15.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 5 รพ.พระมงกุฎเกล้า 

 

ผู้เขียน หัวข้อ: มาบอกบุญร่วมจัดทำหนังสือพระไตรปิฎก  (อ่าน 24723 ครั้ง)

ออฟไลน์ popja

  • Administrator
  • จอมพลัง
  • *****
  • กระทู้: 871
  • น้องวินลูกพ่อป๊อปแม่โบว์
    • แบ่งปันความรู้โรคลมชัก
มาบอกบุญร่วมจัดทำหนังสือพระไตรปิฎก
« เมื่อ: วันอาทิตย์ที่ 28 สิงหาคม 2011 เวลา 01:53 น. »
ตอนนี้ได้รูปเล่มหนังสือมาแล้วครับ




หนังสือ 1 ชุดประกอบด้วย 5 เล่มดังนี้ครับ
ธรรมะจากพระโอษฐ์พระผู้มีพระภาคเจ้า ชุดจากพระโอษฐ์ รวบรวมโดย ท่านพุทธทาสภิกขุ
   1. พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
   2. อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น
   3. อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคปลาย
   4. ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์
   5. ขุมทรัพย์จากพระโอษฐ์


เนื่องด้วยวัดมัชฌิมภูมิ จ.ตรัง จะจัดทำหนังสือพระไตรปิฎก จำนวน 200 ชุด เพื่อนำไปให้วัดต่างๆ สำหรับพระภิกษุสงฆ์ใช้ในการศึกษาพระธรรม  ในราคาชุดละ  1,850 บาท โดยทางวัดจะมีใบอนุโมทนาบุญออกให้ทุกคนครับ (เฉพาะเจ้าภาพ) (ใน 1 ชุด ประกอบด้วยหนังสือ 5 เล่มค่ะ และจะระบุชื่อเจ้าภาพทุกท่านที่ร่วมทำบุญลงในหนังสือทั้ง 200 ชุด)

ผมตั้งใจจะร่วมจัดทำหนังสือพระไตรปิฏกด้วย จำนวน 1 ชุดครับ
ถ้าหากเพื่อนๆพี่ๆสมาชิกท่านใด อยากจะร่วมทำบุญด้วยกัน จะเท่าไหร่ก็ได้แล้วแต่ศรัทธาและกำลังน๊ะครับ
สามารถแจ้งมาได้ในกระทู้นี้เลยครับ (ผมว่าจะทำในนามเว็ปครับ)

และถ้าหากท่านใด ประสงค์ที่จะเป็นเจ้าภาพจัดทำหนังสือพระไตรปิฏกเองเลย ก็สามารถแจ้งชื่อเจ้าภาพและจำนวนชุดได้ที่กระทู้นี้เช่นกันครับ

ขอทราบภายในวันที่ 5 กันยายน นี้น๊ะครับ ส่วนเงินค่อยโอนมาตอนหลังก็ได้ก่อนวันที่ 16 กันยายนนี้ครับ


สามารถร่วมทำบุญโดยโอนเงินมาที่บัญชีผมเอง ตามรายละเอียดนี้ครับ
ชื่อบัญชี นายเด่นชัย สายสุพัฒน์ผล (DENCHAI SAISUPATPON)
ธนาคารกรุงไทย สาขาย่อยกรมสรรพากร
บัญชีออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 1841044695
โอนแล้วรบกวนแจ้งชื่อ-วันที่-เวลา และจำนวนเงินที่โอนให้ทราบในกระทู้นี้ด้วยน๊ะครับ ขออนุโมทนาบุญกับทุกคนด้วยครับ


ถ้าเพื่อนๆพี่ๆท่านใดอยากร่วมทำบุญแต่ปัจจัยไม่พร้อม ก็สามารถร่วมอนุโมทนาบุญได้ครับ ได้บุญเหมือนกันครับ สาธุ

ผู้ร่วมทำบุญน๊ะครับ
1.พี่ต่าย (Thanks-Epi )  100 บาท
2.คุณแม่น้องเมย์ 500 บาท
3.พี่โอ๊ด (wisarut) 500 บาท
4.คุณแกม (แกมแม่เนย) 300 บาท
5.คุณหน่อง (nongtt) 1,000 บาท
6.คุณเกด (KATE) 500 บาท
7.คุณอู๊ด (Siwaporn) 500 บาท
8.คุณหยก (yokpanda) 500 บาท
9.นายอนันต์-นงคราญ ธิติโรจนะวัฒน์ และครอบครัว 750 บาท
10.พี่แอน (ann) 400 บาท
11.พี่อ้อย (nattapol) 1,000 บาท  (อีก 500 ไปรวมกับชุดลำดับที่ 1 ครับ)
   ยอดรวม 5,550 บาท (ได้จำนวน 3 ชุดครับ)
   ในหนังสือพระไตรปิฏกเป็นชื่อ  เพื่อนสมาชิกเว็ปลมชักคลับดอทคอมและครอบครัว

6.พี่น้อง (NONG) 1,850 บาท (เจ้าภาพ 1 ชุด)
   ใบอนุโมทนา ชื่อ  กมลทิพย์ ถาวรรัตน์
   ในหนังสือพระไตรปิฏกเป็นชื่อ  กมลทิพย์ ถาวรรัตน์และครอบครัว 
 
7.คุณออย (สาธิตา) 1,850 บาท (เจ้าภาพ 1 ชุด)
 ใบอนุโมทนา ชื่อ จิดาภา  ญานวรรธน์
  ในหนังสือพระไตรปิฏกเป็นชื่อ ธัญภา ธนวัต  นามสกุล  ญานวรรธน์

8.พี่แอน (ann)  20,350 บาท จำนวน 11 ชุด (ถวายวัด 10 ชุด อีกชุดสำหรับศึกษาอ่านที่บ้าน)

ชื่อลงในหนังสือพระไตรปิฏก
  1.นายอนันต์-นงคราญ ธิติโรจนะวัฒน์ และครอบครัว (เจ้าภาพ 5 ชุด) + (เพิ่มเติมเงินทำบุญ 750 บาท ถ้าเป็นไปได้จะขออนุญาตนำเงินทำบุญจำนวนนี้จัดเข้าร่วมกับชุดของเว็ปลมชักคลับครับ เดี๋ยวโทรไปคุยน๊ะครับพี่แอน แต่ใบอนุโมทนาบัตรก็ออกเต็มจำนวน 10,000 บาท เหมือนเดิมครับ)
  2.นายไพโรจน์-นางเกสุรีภา ธิติโรจนะวัฒน์และครอบครัว (เจ้าภาพ 1 ชุด)
  3.นายณภัทร-นางภัคภร ธิติโรจนะวัฒน์และครอบครัว (เจ้าภาพ 1 ชุด)
  4.คุณพรรัมภา ธิติโรจนะวัฒน์และครอบครัว  (เจ้าภาพ 2 ชุด)
  5.บริษัท เอสโค อินดัสเตรียล คอร์ปอเรชั่น(ประเทศไทย)จำกัด (เจ้าภาพ 1 ชุด)
ใบอนุโมทนาบัตรตามจำนวนชุด ในนาม
  1.นายอนันต์ ธิติโรจนะวัฒน์ 5 ชุด
  2.นางภัคภร สุขประเสริฐ  1 ชุด
  3.นางเกสุรีภา รัตนพันธุ์ศรี  1 ชุด
  4.บริษัท เรือนขวัญเซรามิค จำกัด 2 ชุด
  5.บริษัท เอสโค อินดัสเตรียล คอร์ปอเรชั่น(ประเทศไทย)จำกัด 1 ชุด

รวมแล้วจัดทำพระไตรปิฏกจำนวน  15 ชุด ครับ
จะแจ้งจำนวนชุดที่จัดทำพระไตรปิฏก 4 ชุดกับชื่อเจ้าภาพให้ทางวัดวันนี้ครับ 7/9/54

ผมจะขอส่งรายละเอียดรายชื่อผู้ร่วมจัดสร้างพระไตรปิฏกและเงินทำบุญทั้งหมดให้ทางวัดไม่เกินวันที่ 16 ก.ย.54 ถ้าครบก่อนก็ส่งก่อนครับ
เพื่อป้องกันการสับสนของทางผู้รับในการรับส่งหลายครั้งครับ
เป็นส่งครั้งเดียวครบถ้วนไปเลย เมื่อครบและส่งแล้วจะแจ้งให้ทราบทางนี้ครับ



ขณะนี้เงินทำบุญทั้งหมดที่พวกเราได้ร่วมจัดสร้างหนังสือพระไตรปิฏก
ได้ถูกส่งไปแล้วเพื่อรอนำถวายวัดช่วงเย็นวันนี้ครับ ส่งเงินทำบุญไปเวลา 10.14 น. ของวันที่ 20/9/54
ขออนุโมทนาบุญกับทุกๆครอบครัวด้วยครับ สาธุ


ชื่อผู้ร่วมทำบุญล่าสุดที่แก้ไขแล้วน๊ะครับ
คลิกเลย


ขอให้บุญกุศลที่พวกเราตั้งใจร่วมกั
นถวายหนังสือพระไตรปิฎกให้วัดต่างๆ เพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนา
และยังเป็นปัจจัยให้พระภิกษุสามเณรได้ศึกษาพระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธองค์ เพื่อหนทางสู่พระนิพพานนั้น
ขอให้บุญกุศลนี้จงส่งผลให้น้องๆทุกคนดีขึ้นเป็นลำดับ จนหายป่วยจากโรคนี้โดยเร็ววัน
ให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติสุขและเจริญในธรรมยิ่งๆขึ้นไปทุกคนเทอญ สาธุครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันอังคารที่ 20 กันยายน 2011 เวลา 12:04 น. โดย popja »
สู้สู้

ออฟไลน์ Thanks-Epi

  • Meeting2
  • Hero Member
  • *
  • กระทู้: 902
Re: มาบอกบุญร่วมจัดทำหนังสือพระไตรปิฎก
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: วันอังคารที่ 30 สิงหาคม 2011 เวลา 08:05 น. »
ร่วมทำบุญกับเพื่อนด้วย 100 บาท
(ยังไม่โอนค่ะ เพราะยังไม่ได้ไปธนาคารกรุงไทยนะค่ะ)
แจ้งให้ทราบก่อนค่ะ
It?s what you do in the dark, that puts you in the light
สิ่งที่ทำให้ชีวิตคุณอยู่ในความมืดมิด ก็ทำให้คุณดูสว่างจากสิ่งนี้เช่นกัน

Tegretol CR(200mg)2*2
Keppra(250mg)1*2
Phenobarb(60mg)1*1
Folic(5mg)1*1
Frisium(5mg)1*2
  @@@ over dose  Tegretol CR 1000 mg @@@

ออฟไลน์ popja

  • Administrator
  • จอมพลัง
  • *****
  • กระทู้: 871
  • น้องวินลูกพ่อป๊อปแม่โบว์
    • แบ่งปันความรู้โรคลมชัก
Re: มาบอกบุญร่วมจัดทำหนังสือพระไตรปิฎก
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: วันอังคารที่ 30 สิงหาคม 2011 เวลา 10:17 น. »
ร่วมทำบุญกับเพื่อนด้วย 100 บาท
(ยังไม่โอนค่ะ เพราะยังไม่ได้ไปธนาคารกรุงไทยนะค่ะ)
แจ้งให้ทราบก่อนค่ะ

ครับ ไว้ค่อยโอนตอนหลังได้ครับพี่ต่าย ตอนนี้ขอทราบยอดเงินรวมถึงวันที่ 5 กย.ว่าจะได้ประมาณเท่าไหร่ครับ
จะได้แจ้งจำนวนเล่มพระไตรปิฏกที่จะจัดทำกับวัดได้ถูกต้องหนะครับ
โมทนาบุญด้วยครับ สาธุ
สู้สู้

ออฟไลน์ แม่น้องเมย์

  • Meeting2
  • Jr. Member
  • *
  • กระทู้: 32
Re: มาบอกบุญร่วมจัดทำหนังสือพระไตรปิฎก
« ตอบกลับ #3 เมื่อ: วันอังคารที่ 30 สิงหาคม 2011 เวลา 10:28 น. »
ทำบุญด้วย500บาทโอนให้วันวันที่1ก.ย.54นะค่ะ

ออฟไลน์ wisarut

  • Meeting2
  • Sr. Member
  • *
  • กระทู้: 107
    • @pump_upp - best crypto pumps on telegram !
Re: มาบอกบุญร่วมจัดทำหนังสือพระไตรปิฎก
« ตอบกลับ #4 เมื่อ: วันอังคารที่ 30 สิงหาคม 2011 เวลา 13:57 น. »
ฝากทำบุญด้วยนะครับ 500 บาท โอนเงินไปแล้วครับ วันนี้(30/08/11)ตอน 13.04 น.
ขอบคุณคุณป๊อบมากครับที่ช่วยบอกบุญให้ อนุโมทนาบุญครั้งนี้ด้วยครับ สาธุ

ออฟไลน์ popja

  • Administrator
  • จอมพลัง
  • *****
  • กระทู้: 871
  • น้องวินลูกพ่อป๊อปแม่โบว์
    • แบ่งปันความรู้โรคลมชัก
Re: มาบอกบุญร่วมจัดทำหนังสือพระไตรปิฎก
« ตอบกลับ #5 เมื่อ: วันอังคารที่ 30 สิงหาคม 2011 เวลา 14:56 น. »
ทำบุญด้วย500บาทโอนให้วันวันที่1ก.ย.54นะค่ะ

ฝากทำบุญด้วยนะครับ 500 บาท โอนเงินไปแล้วครับ วันนี้(30/08/11)ตอน 13.04 น.
ขอบคุณคุณป๊อบมากครับที่ช่วยบอกบุญให้ อนุโมทนาบุญครั้งนี้ด้วยครับ สาธุ
ได้รับเงินโอนแล้วครับพี่โอ๊ด

ขออนุโมทนาบุญกับคุณแม่น้องเมย์ และพี่โอ๊ดด้วยน๊ะครับ สาธุครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันอังคารที่ 30 สิงหาคม 2011 เวลา 15:07 น. โดย popja »
สู้สู้

ออฟไลน์ popja

  • Administrator
  • จอมพลัง
  • *****
  • กระทู้: 871
  • น้องวินลูกพ่อป๊อปแม่โบว์
    • แบ่งปันความรู้โรคลมชัก
Re: มาบอกบุญร่วมจัดทำหนังสือพระไตรปิฎก
« ตอบกลับ #6 เมื่อ: วันศุกร์ที่ 02 กันยายน 2011 เวลา 07:05 น. »
ตอนนี้ได้ภาพถ่ายรูปเล่มมาแล้วน๊ะครับ

สารบัญภายในเล่มจะลงที่กระทู้ด้านล่างนี้ครับ
ซึ่งได้อ้างอิงมาจาก
http://truthoflife.fix.gs/index.php?topic=5962.0 ครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันศุกร์ที่ 02 กันยายน 2011 เวลา 08:51 น. โดย popja »
สู้สู้

ออฟไลน์ popja

  • Administrator
  • จอมพลัง
  • *****
  • กระทู้: 871
  • น้องวินลูกพ่อป๊อปแม่โบว์
    • แบ่งปันความรู้โรคลมชัก

พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
เป็นพระประวัติตรัสเล่า ไม่มีคำเรียบเรียงของผู้แต่งคละปน เพราะเป็นที่รวบรวมเฉพาะพระพุทธภาษิตที่ตรัสถึงประวัติของ พระองค์เอง, จากคัมภีร์พระไตรปิฏกล้วน เลือกเก็บเอามา ร้อยกรองให้เป็นหมวดหมู่ ติดต่อกันเป็นลำดับ, มุ่งแสดง หลักธรรมที่แนบอยู่ในพระชนม์ชีพของพระองค์ แทนการมุ่ง ทางตำนานประวัติ หรือนิยายประวัติ เพื่อให้เป็นหนังสือ ส่งเสริมปฏิบัติธรรมเล่มหนึ่ง เป็นส่วนใหญ่ รวมทั้งเป็นแก่น แห่งเรื่องพุทธประวัติด้วย, เป็นส่วนพิเศษ
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์

   พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
 
ผู้แปล/เรียบเรียง : พุทธทาส อินทปัญโญ
   
(ธรรมโฆษณ์ของอาจารย์พุทธทาสภิกขุ)
   
 
ธรรมะจากพระโอษฐ์พระผู้มีพระภาคเจ้า ชุดจากพระโอษฐ์ รวบรวมโดย ท่านพุทธทาสภิกขุ มีดังนี้
   1. พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
   2. อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น
   3. อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคปลาย
   4. ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์
   5. ขุมทรัพย์จากพระโอษฐ์

   สารบัญ
   
ภาคนำ ข้อความให้เกิดความสนใจในพระพุทธประวัติ
   
โลกธาตุหนึ่ง มีพระพุทธเจ้าเพียงองค์เดียว
   การปรากฏของพระตถาคต มีได้ยากในโลก
   โลกที่กำลังมัวเมา ก็ยังสนใจในธรรมของพระตถาคต
   การมีธรรมของพระตถาคตอยู่ในโลก คือความสุขของโลก
   พระตถาคตเกิดขึ้นเพื่อความสุขของโลก
   พระตถาคตเกิดขึ้นในโลก เพื่อแสดงแบบแห่งการครองชีวิตอันประเสริฐแก่โลก
   พระตถาคตเกิดขึ้น แสดงธรรมเพื่อความรำงับ, ดับ, รู้.
   ผู้เชื่อฟังพระตถาคต จะได้รับประโยชน์สุขสิ้นกาลนาน
   ทรงขนานนามพระองค์เองว่า ?พุทธะ?
   เรื่องย่อ ที่ควรทราบก่อน
   เรื่องสั้น ๆ ที่ควรทราบก่อน (อีกหมวดหนึ่ง)
   
   ภาค ๑ เริ่มแต่การเกิดแห่งสากยวงศ์ เรื่องก่อนประสูติ จนถึงออกผนวช.
   
การเกิดแห่งวงศ์สากยะ
   พวกสากยะอยู่ใต้อำนาจพระเจ้าโกศล
   แดนสากยะขึ้นอยู่ในแคว้นโกศล
   การอยู่ในหมู่เทพชั้นดุสิต
   การจุติจากดุสิตลงสู่ครรภ์
   เกิดแสงสว่างเนื่องด้วย การจุติจากดุสิต
   แผ่นดินไหวเนื่องด้วยจุติ
   การลงสู่ครรภ์
   การอยู่ในครรภ์
   การประสูติ
   เกิดแสงสว่างเนื่องด้วยการประสูติ
   แผ่นดินไหวเนื่องด้วยการประสูติ
   ทรงประกอบด้วยมหาปุริสลักษณะสามสิบสอง
   บุรพกรรมของการได้มหาปุริสลักษณะ
   ประสูติได้เจ็ดวัน พระชนนีทิวงคต
   ทรงได้รับการบำเรอในราชสำนัก
   กามสุขกับความหน่าย
   หลงกามและหลุดกาม
   ความรู้สึกที่ถึงกับทำให้ออกผนวช
   การออกผนวช
   ออกผนวช เมื่อพระชนมายุยี่สิบเก้า
   
   ภาค ๒ เริ่มแต่ออกผนวชแล้ว เที่ยวเสาะแสวงหาความรู้ ทรมานพระองค์ จนได้ตรัสรู้.
   
เสด็จสำนักอาฬารดาบส
   เสด็จสำนักอุทกดาบส
   เสด็จไปอุรุเวลาเสนานิคม
   ทรงประพฤติอัตตกิลมถานุโยค
   อุปมาปรากฏแจ่มแจ้ง
   ทุกรกิริยา
   ทรงกลับพระทันฉันอาหารหยาบ
   ภิกษุปัญจวัคคีย์หลีก
   ทรงตริตรึกเพื่อตรัสรู้
   ทรงเที่ยวแสวงเพื่อความตรัสรู้
   ทรงคอยควบคุมวิตก ก่อนตรัสรู้
   ทรงกำหนดสมาธินิมิต ก่อนตรัสรู้
   ทรงกั้นจิตจากกามคุณในอดีต ก่อนตรัสรู้
   ทรงค้นวิธีแห่งอิทธิบาท ก่อนตรัสรู้
   ทรงคิดค้นเรื่องเบญจขันธ์ ก่อนตรัสรู้
   ทรงแสวงเนื่องด้วยเบญจขันธ์ ก่อนตรัสรู้
   ทรงค้นลูกโซ่แห่งทุกข์ ก่อนตรัสรู้
   ทรงพยายามในญาณทัศนะเป็นขั้น ๆ ก่อนตรัสรู้
   ทรงทำลายความขลาด ก่อนตรัสรู้
   ธรรมที่ทรงอบรมอย่างมาก ก่อนตรัสรู้
   วิหารธรรมที่ทรงอยู่มากที่สุด ก่อนตรัสรู้
   ทรงพยายามในเนกขัมมจิตและอนุปุพพวิหารสมาบัติ ก่อนตรัสรู้
   ทรงอธิษฐานความเพียร
   ความฝันครั้งสำคัญ ก่อนตรัสรู้
   อาการแห่งการตรัสรู้
   สิ่งที่ตรัสรู้
   เกิดแสงสว่างเนื่องด้วยการตรัสรู้
   แผ่นดินไหว เนื่องด้วยการตรัสรู้
   การรู้สึกพระองค์ว่าได้ตรัสรู้แล้ว
   
   ภาค ๓ เริ่มแต่ตรัสรู้แล้วทรงประกอบด้วยพระคุณธรรมต่าง ๆ จนเสด็จไปโปรดปัญจวัคคีย์บรรลุผล.
   
ทรงเป็นลูกไก่ตัวพี่ที่สุด
   ทรงเป็นผู้ข่มอินทรีย์ได้
   ทรงมีตถาคตพลญาณสิบอย่าง
   ทรงมีเวสารัชชญาณสี่อย่าง
   ทรงมีวิธีรุกข้าศึกให้แพ้ภัยตัว
   ทรงมีธรรมสีหนาทที่ทำเทวโลกให้สั่นสะเทือน
   ทรงมีธรรมสีหนาทอย่างองอาจ
   สิ่งที่ใคร ๆ ไม่อาจท้วงติงได้
   ไม่ทรงมีความลับ ที่ต้องให้ใครช่วยปกปิด
   ทรงเป็นอัจฉริยมนุษย์ในโลก
   ทรงต่างจากมนุษย์ธรรมดา
   ทรงบังคับใจได้เด็ดขาด
   ไม่ทรงติดแม้ในนิพพาน
   ทรงมีความคงที่ต่อวิสัยโลกไม่มีใครยิ่งกว่า
   ทรงยืนยันในคุณธรรมของพระองค์เองได้
   ทรงยืนยันพรหมจรรย์ของพระองค์ว่าบริสุทธิ์เต็มที่
   สิ่งที่ไม่ต้องทรงรักษาอีกต่อไป
   ทรงฉลาดในเรื่องซึ่งพ้นวิสัยโลก
   ทรงทราบทิฏฐิวัตถุที่ลึกซึ้ง(ทิฏฐิ ๖๒)
   ทรงทราบส่วนสุดและมัชฌิมา
   ทรงทราบพราหมณสัจจ์
   ทรงทราบพรหมโลก
   ทรงทราบคติห้าและนิพพาน
   ทรงแสดงฤทธิ์ได้ เพราะอิทธิบาทสี่
   ทรงมีอิทธิบาทเพื่ออยู่ได้ถึงกัปป์
   ทรงเปล่งเสียงคราวเดียว ได้ยินตลอดทุกโลกธาตุ
   ทรงมีปาฎิหาริย์สามอย่าง
   เหตุที่ทำให้ได้ทรงพระนามว่า ตถาคต
   ทรงเป็นสัมมาสัมพุทธะ เมื่อทรงคล่องแคล่วในอนุปุพพวิหารสมาบัติ
   ทรงปฏิญญาเป็นอภิสัมพุทธะ เมื่อทรงทราบอริยสัจจ์
   ไม่ทรงเป็นสัพพัญญูทุกอิริยาบถ
   ทรงยืนยันความเป็นมหาบุรุษ
   ไม่มีใครเปรียบเสมอ
   ไม่ทรงอภิวาทผู้ใด
   ทรงเป็นธรรมราชา
   ทรงเป็นธรรมราชาที่เคารพธรรม
   ทรงคิดหาที่พึ่งสำหรับพระองค์เอง
   ทรงถูกพวกพราหมณ์ตัดพ้อ
   มารทูลให้นิพพาน
   ทรงท้อพระทัยในการแสดงธรรม
   พรหมอาราธนา
   ทรงเห็นสัตว์ดุจดอกบัว ๓ เหล่า
   ทรงแสดงธรรมเพราะเห็นความจำเป็นของสัตว์บางพวก
   ทรงเห็นลู่ทางที่จะช่วยเหลือปวงสัตว์
   ทรงระลึกหาผู้รับปฐมเทศนา
   เสด็จพาราณสี - พบอุปกาชีวก
   การโปรดปัญจวัคคีย์หรือ การแสดงปฐมเทศนา
   ทรงประกาศธรรมจักรที่อิสิปตนมฤคทายวัน
   แผ่นดินไหวเนื่องด้วยการแสดงธรรมจักร
   เกิดแสงสว่างเนื่องด้วยการแสดงธรรมจักร
   จักรของพระองค์ไม่มีใครต้านทานได้
   ทรงหมุนแต่จักรที่มีธรรมราชา (เป็นเจ้าของ)
   การปรากฏของพระองค์คือการปรากฏแห่งดวงตาอันใหญ่หลวงของโลก
   
   ภาค ๔ เรื่องเบ็ดเตล็ดใหญ่น้อยต่าง ๆตั้งแต่โปรดปัญจวัคคีย์แล้ว ไปจนถึงจวนจะปรินิพพาน.
   
ก. เกี่ยวกับการประกาศพระศาสนา (๒๓ เรื่อง)
   
การประกาศพระศาสนา
   หลักที่ทรงใช้ในการตรัส (๖ อย่าง)
   อาการที่ทรงแสดงธรรม
   ทรงแสดงธรรมด้วยความระมัดระวังอย่างยิ่ง
   อาการที่ทรงบัญญัติวินัย
   หัวใจพระธรรมในคำ ?บริภาส? ของพระองค์
   ทรงเป็นยามเฝ้าตลิ่งให้ปวงสัตว์
   ทรงสอนเช่นเดียวกับพระพุทธเจ้าทั้งปวง
   ทรงสามารถในการสอน
   ทรงสามารถยิ่ง ในการสอน
   สิ่งที่ตรัสรู้แต่ไม่ทรงนำมาสอนมีมากกว่าที่ทรงนำมาสอนมากนัก
   คำของพระองค์ ตรงเป็นอันเดียวกันหมด
   ทรงสอนเฉพาะแต่เรื่องทุกข์กับความดับสนิทของทุกข์
   ทรงมีหลักเกณฑ์การฝึกตามลำดับ (อย่างย่อ)
   ทรงฝึกสาวกเป็นลำดับ ๆ
   เรื่องที่ไม่ทรงพยากรณ์
   เรื่องที่ทรงพยากรณ์
   ผู้ฟังพอใจคำพยากรณ์ของพระองค์
   ไม่ได้ทรงพยากรณ์เพื่อให้ชอบใจผู้ฟัง
   คำพยากรณ์นั้น ๆ ไม่ต้องทรงคิดไว้ก่อน
   ทรงฆ่าผู้ที่ไม่รับการฝึก
   เหตุที่สาวกบางคนไม่ได้บรรลุ
   ทรงบัญญัติโลกุตตรธรรมสำหรับคนทั่วไป
   
   ข. เกี่ยวกับสาวกของพระองค์ (๑๕ เรื่อง)
   
ทรงบริหารสงฆ์ จำนวนร้อย
   ทรงรับรองภิกษุแต่บางรูป ว่าเป็นคนของพระองค์
   ทรงมีศิษย์ทั้งที่ดื้อ และไม่ดื้อ
   สาวกของพระองค์หลุดพ้นเพราะพิจารณาความเป็นอนัตตาในเบญจขันธ์
   สาวกของพระองค์เสียชีพไม่เสียศีล
   ทรงขอให้สาวกเป็นธรรมทายาทอย่าเป็นอามิสทายาท
   ทรงถือว่า ภิกษุสาวกทุกวรรณะ เป็นสมณสากยปุตติยะโดยเสมอกัน
   ทรงมีคณะสาวกซึ่งมีปาฏิหาริย์
   ทรงเป็นพี่เลี้ยงให้แก่สาวก ชั่วระยะจำเป็น
   ทรงมีพระสาริบุตรเป็นผู้รองลำดับ
   ทรงมีพระสารีบุตรเป็นผู้ประกาศธรรมจักรเสมอด้วยพระองค์
   มหาเถระผู้มีสมาบัติและอภิญญาเทียมพระองค์
   ส่วนที่สาวกเข้มงวดกว่าพระองค์
   เหตุที่ทำให้มีผู้มาเป็นสาวกของพระองค์
   ไม่ทรงทำอุโบสถกับสาวกอีกต่อไป
   
   ค. เกี่ยวกับความเป็นอยู่ส่วนพระองค์ (๑๖ เรื่อง)
   
ไม่ทรงติดทายก
   ทรงเสพเสนาสนะป่าเรื่อยไป เพื่อให้เป็นตัวอย่าง
   ทรงพอพระทัยความสามัคคีเป็นอย่างยิ่ง
   ทรงมีความสุขยิ่งกว่ามหาราช
   ทรงฉันอาหารวันหนึ่งหนเดียว
   ทรงฉันอาหารหมดบาตรก็มี
   ทรงมีการประทม อย่างตถาคต
   ตัวอย่างเพียงส่วนน้อย ของความสุข
   ทรงนับพระองค์ว่าเป็นผู้หนึ่งในบรรดาผู้นอนเป็นสุข
   ที่ประทับนั่งนอนของพระองค
   ทรงเป็นสมณะสุขุมาลในบรรดาสมณะ
   ทรงทำนาที่มีอมตะเป็นผล
   การทรงหลีกเร้นเป็นพิเศษบางคราว
   การเสด็จสุทธาวาส
   ทรงมีฌานแน่วแน่ชั้นพิเศษ
   กัลยาณมิตรของพระองค์เอง
   
   ง. เกี่ยวกับลัทธิอื่น ๆ (๙ เรื่อง)
   
พอดวงอาทิตย์ขึ้น หิ่งห้อยก็อับแสง
   ลัทธิของพระองค์กับของผู้อื่น
   ไม่ได้ทรงติการบำเพ็ญตบะ ไปเสียตะพึด
   ไม่ทรงตำหนิการบูชายัญไปเสียทั้งหมด
   บางกฎที่ทรงยกเว้นแก่บางคน
   ทรง\"เยาะ\"ลัทธิที่ว่าสุขทุกข์เพราะกรรมเก่าอย่างเดียว
   ทรง ?เยาะ? ลัทธิที่ว่าสุขทุกข์เพราะการบันดาลของเจ้านาย
   ทรง ?เยาะ? ลัทธิที่ว่า สุขทุกข์ไม่มีอะไรเป็นเหตุเป็นปัจจัย
   ทรงระบุลัทธิมักขลิวาท ว่าเป็นลัทธิทำลายโลก
   
   จ. เกี่ยวกับการที่มีผู้อื่นเข้าใจผิด (๑๔ เรื่อง)
   
ทรงทำผู้มุ่งร้ายให้แพ้ภัยตัวเอง
   ไม่เคยทรงพรั่นพรึงในท่ามกลางบริษัท
   ทรงสมาคมได้อย่างสนิทสนม ทุกบริษัท
   ทรงท้าให้ใครปฏิเสธธรรมะที่พระองค์รับรอง
   ทรงท้าว่า ธรรมที่ทรงแสดงไม่มีใครค้านได้
   ทรงยืนยันเอง และทรงให้สาวกยืนยันว่ามีสมณะในธรรมวินัยนี้
   โพชฌงค์ปรากฏ เพราะพระองค์ปรากฏ
   ไม่ได้ทรงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อให้เขานับถือ
   พรหมจรรย์นี้ มิใช่มีลาภเป็นอานิสงส์
   ทรงแก้ข้อที่เขาหาว่าเกียดกันทาน
   ทรงแก้ข้อที่ถูกเขาหาว่า ทรงหลง
   ทรงถูกตู่เรื่องฉันปลาฉันเนื้อ
   แง่ที่เขากล่าวหาพระองค์อย่างผิด ๆ
   มนุษย์บุถุชน รู้จักพระองค์น้อยเกินไป
   
   ฉ.เกี่ยวกับเหตุการณ์พิเศษบางเรื่อง (๑๖ เรื่อง)
   
การทรงแสดงความพ้น เพราะสิ้นตัณหา
   การเกิดของพระองค์ ไม่กระทบกระเทือนถึงกฎธรรมชาติ (การทรงแสดงไตรลักษณ์)
   การทรงแสดงเหตุของความเจริญ
   การตรัสเรื่อง ?ทุกข์นี้ใครทำให้ ??
   การสนทนากับ ?พระเหม็นคาว?
   การตอบคำถามของทัณฑปาณิสักกะ
   การสนทนากับ นิครนถ์
   ทรงสนทนากะเทวดา เรื่องวิมุตติของภิกษุณี
   การสนทนาเรื่องที่สุดโลก
   การตรัสเรื่อง ?มหาภูต? ไม่หยั่งลงในที่ไหน
   การมาเฝ้าของตายนเทพบุตร
   การมาของอนาถปิณฑิกเทพบุตร
   การมาเฝ้าของจาตุมมหาราช
   การข่มลิจฉวีบุตร ผู้มัวเมาในปาฏิหาริย์
   
   ผนวกภาค ๔ คือพระประวัติเบ็ดเตล็ดตามเสียงของคนนอก
   
ตามเสียงกระฉ่อนทั่ว ๆ ไป : ทรงเป็นสัมมาสัมพุทธะประกาศพรหมจรรย์บริสุทธิ์
   ตามเสียงของผู้สรรเสริญธรรมเทศนา : ทรงมีธรรมเทศนาเป็นแสงสว่าง
   ตามเสียงของปริพพาชกวัจฉโคตร : ทรงมีคำสอนที่เป็นแก่นแท้ล้วน ๆ
   ตามเสียงของคณกะโมคคัลลานพราหมณ์ ?โอวาทของพระโคดมเป็นยอด?
   ตามเสียงของสัจจกะนิครนถ์ ?เจอะพระโคดมแล้ว ไม่มีรอดไปได้?
   ตามเสียงของเจ้าลิจฉวี ทุมมุขะ : ทรงหักล้างถ้อยคำของปรปักษ์ได้เหมือนเด็ก ๆ รุมกันต่อยก้าม
   ตามเสียงของปริพพาชกคณะแม่น้ำสัปปีนี : ไม่มีช่องทางที่ใครจะขันสู้พระผู้มีพระภาคเจ้า
   ตามเสียงของปีโลติกะปริพพาชก : ทรงมีคุณธรรมลึกจนผู้อื่นได้แต่เพียงอนุมานเอา
   ตามเสียงของสัสสการพราหมณ์ : ทรงมีคุณธรรมสูง ๔ ประการ
   ตามเสียงของหัตถกเทวบุตร : ทรงอัดแออยู่ด้วยบริษัทนานาชนิด
   ตามเสียงของโลหิจจพราหมณ์ : ทรงมีอนามัยเป็นอย่างดี
   ตามเสียงของโสณทัณฑพราหมณ์ : ทรงมีคุณสมบัติสูงทุกประการ
   ตามเสียงของอุตตรมาณพ
   ทรงประกอบด้วยมหาปุริสลักขณะ ๓๒
   ทรงมีลีลาศสง่า งดงาม
   ทรงมีมรรยาทเป็นสง่า น่าเลื่อมใส
   ไม่ทรงตื่นเต้นพระทัย ในบ้าน
   ทรงฉันภัตตาหารในหมู่บ้านเรียบร้อยนัก
   ไม่ทรงติดในรสอาหาร
   ทรงมีวัตรในบาตร
   การเสด็จกลับจากฉันในหมู่บ้าน
   ทรงนุ่งห่มกระทัดรัด
   ทรงมุ่งแต่ความเกื้อกูลสัตว์
   การแสดงธรรมด้วยพระสำเนียงมีองค์ ๘
   ตามเสียงของพระเจ้าปเสนทิโกศล
   ทรงมีคณะสงฆ์ที่ประพฤติพรหมจรรย์ตลอดชีวิต
   ทรงมีคณะสงฆ์ที่พร้อมเพรียง
   ทรงมีคณะสงฆ์ที่ชุ่มชื่นผ่องใส
   ทรงมีสังฆบริษัทที่เงียบเสียง
   ทรงชนะคนมุ่งร้ายที่เข้าเฝ้า
   ทรงชนะน้ำใจคน โดยทางธรรม
   ทรงเสมอกับพระเจ้าโกศลโดยวัย
   ตามเสียงของคณกะโมคคัลลานพรามหณ์ : ทรงคบและไม่ทรงคบบุคคลเช่นไร
   
   ภาค ๕ การปรินิพพาน
   
แปดสิบปียังไม่ฟั่นเฟือน
   ทรงทำหน้าที่พระพุทธเจ้าบริบูรณ์แล้ว
   เรื่องเบ็ดเตล็ดก่อนหน้าปรินิพพาน : การตรัสภิกษุอปริหานิยธรรม
   เสด็จสวนอัมพลัฏฐิกา
   เสด็จเมืองนาลันทา
   เสด็จบ้านปาฎลิคาม
   เสด็จบ้านโกฏิคาม
   เสด็จหมู่บ้านนาทิกะ
   เสด็จเมืองเวสาลี
   เสด็จบ้านเวฬุวคาม
   เสด็จทิวาวิหาร ที่ปาวาลเจดีย์
   ทรงปลงอายุสังขาร
   เสด็จป่ามหาวัน
   เสด็จบ้านภัณฑคาม
   เสด็จบ้านหัตถิคาม โดยลำดับ
   การปรินิพพาน หรือ การประทับสีหเสยยาครั้งสุดท้าย
   แผ่นดินไหว เนื่องด้วยการปรินิพพาน
   เราเห็นพระองค์ได้ชั่วเวลาที่ยังปรากฏพระกาย
   การปรินิพพานของพระองค์คือความทุกข์ร้อนของมหาชน
   สังเวชนียสถานภายหลังพุทธปรินิพพาน
   
   ภาค ๖ เรื่องการบำเพ็ญบารมีในอดีตชาติ ซึ่งเต็มไปด้วยทิฏฐานุคติอันสาวกในภายหลังพึงดำเนินตาม.
   
ต้องท่องเที่ยวมาแล้ว, เพราะไม่รู้อริยสัจจ์
   ตลอดวัฏฏสงสารของพระองค์ ไม่เคยทรงบังเกิด ในชั้นสุทธาวาส
   ในวัฏฏสงสารที่ล่วงมาแล้ว เคยทรงบูชายัญญ์และบำเรอไฟแล้วอย่างมาก
   ทิฏฐานุคติแห่งความดี ที่ทรงสั่งสมไว้แต่ภพก่อน ๆ
   เคยทรงบังเกิดเป็นมหาพรหม สักกะ ฯลฯ
   ครั้งมีพระชาติเป็นโชติปาลมาณพ
   ครั้งมีพระชาติเป็นพระเจ้ามหาสุทัศน์
   ครั้งมีพระชาติเป็นปุโรหิต สอนการบูชายัญญ์
   ครั้งมีพระชาติเป็นพระเจ้าเมฆเทวราช
   ครั้งมีพระชาติเป็นมหาโควินทพราหมณ์
   ครั้งมีพระชาติเป็นรถการ ช่างทำรถ
   ครั้งมีพระชาติเป็นอกิตติดาบส
   ครั้งมีพระชาติเป็นพระจันทกุมาร
   ครั้งมีพระชาติเป็นสังขพราหมณ์
   ครั้งมีพระชาติเป็นเวลามพราหมณ์
   ครั้งมีพระชาติเป้นพระเวสสันดร
   ครั้งมีพระชาติเป็นมาตังคชฎิล
   ครั้งมีพระชาติเป็นจูฬโพธิ
   ครั้งมีพระชาติเป็นเจ้าชายยุธัญชยะ
   ที่สุดแห่งการท่องเที่ยวของพระองค์
   การสนทนากับปริพพาชกชื่อมัณฑิกะ และชาลิกะ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันศุกร์ที่ 02 กันยายน 2011 เวลา 22:38 น. โดย popja »
สู้สู้

ออฟไลน์ popja

  • Administrator
  • จอมพลัง
  • *****
  • กระทู้: 871
  • น้องวินลูกพ่อป๊อปแม่โบว์
    • แบ่งปันความรู้โรคลมชัก

อริยสัจจากพระโอษฐ์ภาคปลาย
เป็นการรวบรวมเรื่องอริยสัจที่ตรัสเอง ไว้อย่างครบถ้วนที่สุด
เพียงพอที่จะศึกษาเรื่องอริยสัจอย่างชัดแจ้ง ให้สมกับข้อที่ว่า
อริยสัจเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นที่รวบรวมแห่งพระ
พุทธวจนะทั้งปวง ซึ่งพระพุทธองค์ทรงประสงค์ให้ช่วยกันเผย
แผ่ เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่มหาชนทั้งเทวดาและมนุษย์


อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น
ผู้แปล/เรียบเรียง : พุทธทาส อินทปัญโญ
(ธรรมโฆษณ์ของอาจารย์พุทธทาสภิกขุ)

ธรรมะจากพระโอษฐ์พระผู้มีพระภาคเจ้า
ชุดจากพระโอษฐ์ รวบรวมโดย ท่านพุทธทาสภิกขุ มีดังนี้
1. พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
2. อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น
3. อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคปลาย
4. ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์
5. ขุมทรัพย์จากพระโอษฐ์

สารบัญ

บทนำ : ข้อความที่ควรทราบก่อนเกี่ยวกับจตุราริยสัจ

๑. สัตว์โลก กับ จตุราริยสัจ (๑๓ หัวข้อ)
ตรัสรู้แล้ว ทรงรำถึงถึงหมู่สัตว์
การพ้นทุกข์โดยไม่รู้อริยสัจนั้น เป็นไปไม่ได้
เพราะไม่รู้อริยสัจ จึงต้องแล่นไปในสังสารวัฏ
สัตว์เกิดกลับมาเป็นมนุษย์มีน้อย เพราะไม่รู้อริยสัจ
ความมืดบอดของโลก มีตลอดเวลาที่พระตถาคตไม่เกิดขึ้น
อริยสัจสี่ เป็นสิ่งที่คงที่ไม่รู้จักเปลี่ยนตัว
สุขที่สัตว์โลกควรกลัว และไม่ควรกลัว
ความรู้สึกของบุถุชน ไขว้กันอยู่เสมอต่อหลักแห่งอริยสัจ
ผู้ติดเหยื่อโลก ชอบฟังเรื่องกาม ไม่ฟังเรื่องสงบ
การฟังอริยสัจ เหมาะสำหรับจิตที่ฟอกแล้วเท่านั้น
จิตที่ยังไม่ได้ฟอก ยากนักที่จะเห็นนิโรธสัจ
สัตว์ผู้ไม่เป็นไทต่อความกำหนัด ย่อมหลงกาม
สัตว์โลก รู้จักสุขอันแท้จริง ต่อเมื่อปัญญาเกิด

๒. ชีวิตมนุษย์ กับ จตุราริยสัจ (๒๐ หัวข้อ)
มนุษย์เป็นอันมาก ได้ยึดถือเอาที่พึ่งผิด ๆ
ผู้ไม่รู้อริยสัจ ย่อมหลงสร้างเหวแห่งควาทุกข์เพื่อตัวเอง อยู่ร่ำไป
ผู้รู้อริยสัจ หาหลงสร้างทุกข์ขึ้นเพื่อตัวเองไม่
ทุกข์ประเภทใหญ่ ๆ ก็มีพอแล้วสำหรับสัตว์จะสำนึกตัวมารู้อริยสัจ
พอรู้อริยสัจ ทุกข์เหลือน้อยขนาดฝุ่นติดปลายเล็บเทียบกับปฐพี
ผู้ไม่รู้อริยสัจ ชื่อว่าตกอยู่ในที่มืด
ผู้ไม่รู้อริยสัจ ชื่อว่าตกอยู่ในหลุมเพลิงเป็นนิจ
กว่ามนุษย์จะหลุดจากบ่วง (คือรู้อริยสัจ)
...เมื่อจมกามตามปกติ
...เมื่อจมกามครั้งที่สอง
...เมื่อเฉไปติดบ่วงทิฏฐิ
...เมื่อพ้นจากบ่วง
ยังมีพวกบริโภคกามโดยไม่จมกาม
ผู้รู้อริยสัจเป็นหลักอยู่ในใจ ย่อมไม่มีอาการสั่นสะเทือนเพราะถูกยกวาทะ : ดุจเสาหิน
ผู้ประกอบด้วยอวิชชา คือผู้ไม่มีความรู้สี่อย่าง
อย่าคิดเรื่องโลก แต่จงคิดเรื่องอริยสัจ
อย่ากล่าวเรื่องทุ่มเถียงแก่งแย่งกัน แต่จงกล่าวเรื่องความพ้นทุกข์
อย่ากล่าวเรื่องไม่มีประโยชน์ แต่จงกล่าวเรื่องความพ้นทุกข์
จงบวชเพื่อรู้ความดับทุกข์เหมือนเขาทั้งหลายผู้บวชแล้วโดยชอบ
ไม่รู้อริยสัจ ก็ยังไม่เป็นสมณพราหมณ์ที่แท้
ถ้ามัวรอให้รู้เรื่องที่ไม่จำเป็นเสียก่อน ก็ตายเปล่า
อย่ายึดถือติดแน่นในธรรม แต่จงใช้เพียงเป็นเครื่องมือ
เปรียบนักเรียนอริยสัจ ด้วยหนูต่างจำพวกกัน
จงสงเคราะห์ผู้อื่นด้วยการให้รู้อริยสัจ

๓. พระพุทธองค์ กับ จตุราริยสัจ
พระพุทธองค์ คือผู้ทรงชี้ให้รู้จักทุกข์
ุมน้อยมุมหนึ่งของความทุกข์ ที่พระองค์ไม่มี
ทรงแสวง
ทรงพบ
เมื่อยังไม่ทรงรู้อริยสัจ ก็ยังไม่ชื่อว่า ได้ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ
ถ้าไม่รู้เบญจขันธ์โดยนัยอริยสัจสี่ ก็ยังไม่ทรงปฏิญญาเป็นพระพุทธเจ้า
พระพุทธองค์ ทรงพระนามว่า สัมมาสัมพุทธะ ก็เพราะได้ตรัสรู้อริยสัจสี่
ทรงรอบรู้โลก (อริยสัจ)
ทรงบันลือสีหนาท ประกาศจตุราริยสัจ
ทรงประกาศ อนุตตรธรรมจักร ซึ่งใคร ๆ ประกาศไม่ได้
สิ่งที่ไม่ทรงนำมาสอน มีมากยิ่งกว่ามากนัก
สิ่งที่ทรงนำมาสอน ก็เฉพาะเรื่องความพ้นทุกข์
ทรงพยากรณ์เฉพาะเรื่องอริยสัจสี่
ทรงบัญญัติสัจจะ ไม่เข้าใคร ออกใคร
ตรัสถ้อยคำโดยโวหารโลก แต่มิได้ทรงยึดถือ
สาวกมาอยู่อาศัยพระองค์ เพราะทรงตอบปัญหาอริยสัจได้
พระพุทธเจ้า ทั้งในอดีต - อนาคต - ปัจจุบัน ล้วนแต่ตรัสรู้อริยสัจสี่
เหตุที่ต้องมีพระพุทธองค์และธรรมวินัยอยู่ในโลก
ผู้ช่วยให้รู้อริยสัจ นับเนื่องอยู่ในบุคคลผู้มีอุปการะมาก

๔. การรู้อริยสัจ ไม่เป็นสิ่งสุดวิสัย
ทั้งในอดีต อนาคต ปัจจุบัน ล้วนมีการประกาศอริยสัจ ตามเป็นจริง
มีบุคคลบวชแล้วรู้อริยสัจ ทั้งในอดีต - อนาคต - ปัจจุบัน
ทั้งอดีต-อนาคต-ปัจจุบัน ล้วนแต่มีการรู้อริยสัจ
ตรัสว่าจงหลีกเร้น แล้วจักรู้อริยสัจ
ตรัสว่าจงเจริญสมาธิ จักรู้อริยสัจตามเป็นจริง
จิตเป็นสมาธิแล้ว รู้อริยสัจได้แจ่มใส เหมือนเห็นของในน้ำอันใส
เมื่อประพฤติถูกทาง กิริยาที่ไปนิพพาน เบาสบายเหมือนไม้ลอยตามน้ำ
การรู้จักอันตคาหิกทิฏฐิไม่เกี่ยวกับ การรู้อริยสัจและการประพฤติพรหมจรรย์
สัจจะและหลักถึงปฏิบัติเกี่ยวกับการถึงสัจจะ
...(ก. ความจริงตามแบบของชาวโลกตามธรรมชาติ)
...(ข. วิธีการตามรักษาไว้ซึ่งความจริง)
...(ค. การติดตามทำความกำหนดรู้ในความจริง)
...(ง. การตามบรรลุถึงซึ่งความจริง)
...(จ. ธรรมเป็นอุปการะมากแก่การตามบรรลุถึงซึ่งความจริง)
การรู้อริยสัจเป็นของไม่เหลือวิสัย พระอริยบุคคล จึงมีปริมาณมาก

๕. คุณค่าของอริยสัจ
อริยสัจสี่เป็นเอกังสิกธรรมที่ทรงแสดง
ทำที่สุดทุกข์โดยไม่รู้อริยสัจนั้นเป็นไปไม่ได้
สัตว์ต้องเวียนว่ายเพราะไม่เห็นอริยสัจ
การรู้อริยสัจ รีบด่วนกว่าการดับไฟที่กำลังไหม้อยู่บนศรีษะ
การรู้อริยสัจควรแลกเอา แม้ด้วยการถูกแทงด้วยหอกวันละ ๓๐๐ ครั้ง ๑๐๐ ปี
เมื่อยังไม่รู้อริยสัจ ก็ไม่สามารถลงหลักแห่งความรู้ของตน
สัตว์จำพวกวินิบาตกับการเห็นจตุราริยสัจ
การรู้อริยสัจทำให้มีตาครบสองตา
การสิ้นอาสวะมีได้เพราะการรู้อริยสัจ
เหตุที่ทำให้สัจจะเหล่านี้ได้นามว่า \\
เหตุที่ทำให้สัจจะเหล่านี้ได้นามว่า อริยะ (อีกนัยหนึ่ง)
อริยสัจสี่สำหรับความเป็นอริยบุคคล
อริยสัจธรรมรวมอยู่ในหมู่ธรรมที่ใครค้านไม่ได้

๖. เค้าโครงของอริยสัจ
หลักอริยสัจมีอย่างเดียว แต่คำอธิบายมีปริยายมากมาย
อริยสัจสี่โดยสังเขป (นัยทั่วไป)
อริยสัจสี่โดยสังเขป (อีกนัยหนึ่ง) (ทรงแสดงด้วยปัญจุปาทานขันธ์)
อริยสัจสี่โดยสังเขป (อีกนัยหนึ่ง) (ทรงแสดงด้วยอายตนะหก)
ทรงวางลำดับแห่งอริยสัจ อย่างตายตัว
อริยสัจสี่ในรูปแบบพิเศษ
การวางลำดับใหม่ ไม่มีเหตุผลเลย
หน้าที่อันเกี่ยวกับอริยสัจ มีสี่ชนิด
อริยสัจสี่ มีสามรอบ มีสิบสองอาการ
อริยสัจสี่เนื่องกันจนเห็นแต่อริยสัจเดียวไม่ได้
ไวพจน์ หรือคำแทนชื่อ ของจตุราริยสัจ
ไวพจน์ของจตุราริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง) (ทรงแสดงด้วยคำว่า อันตะ)
ไวพจน์ของจตุราริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง) (ทรงแสดงด้วยคำว่า สักกายะ)
ไวพจน์ของจตุราริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง) (ทรงแสดงด้วยคำว่า โลก)
อริยสัจสี่ ที่ทรงแสดงโดยพิสดาร (นัยที่หนึ่ง)
...๑. ทุกขอริยสัจ
...๒. ทุกขสมุทยอริยสัจ
...๓. ทุกขนิโรธอริยสัจ
...๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
อริยสัจสี่ ที่ทรงแสดงโดยพิสดาร (นัยที่สอง)

ภาค ๑ : ว่าด้วยทุกขอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือทุกข์
อุทเทศแห่งทุกขอริยสัจ
นิทเทศ ๑ ว่าด้วยประเภทและอาการแห่งทุกข์ตามหลักทั่วไป (๑๒ เรื่อง)
ความเกิด
ความแก่
ความตาย
ความโศก
ความร่ำไรรำพัน
ความทุกข์กาย
ความทุกข์ใจ
ความคับแค้นใจ
ความประสพด้วยสิ่งไม่เป็นที่รัก
ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รัก
ความปรารถนาอย่างใดแล้วไม่ได้อย่างนั้น
ปัญจุปาทานักขันธ์

นิทเทศ ๒ ว่าด้วยทุกข์สรุปในปัญจุปาทานักขันธ์
ตอน ๑ ว่าด้วยเบญจขันธ์โดยวิภาค
(ก.) วิภาคแห่งเบญจขันธ์

๑. วิภาคแห่งรูปขันธ์
รูปและรูปอาศัย
มหาภูต คือ ธาตุสี่
การเกิดขึ้นของธาตุสี่เท่ากับการเกิดขึ้นของทุกข์
ความเพลินในธาตุสี่เท่ากับความเพลินในทุกข
รสอร่อย - โทษ - อุบายเครื่องพ้นไปของธาตุสี่
ความลับของธาตุสี่
ธาตุสี่ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
ยังยินดีในธาตุสี่อยู่ เพราะไม่รู้จักธาตุสี่
ความหมายของคำว่า รูป
อุปมาแห่งรูป
อัสสาทะของรูป
อาทีนพของรูป
นิสสรณะของรูป
ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ รูป
รูปขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่

๒. วิภาคแห่งเวทนาขันธ์
เวทนาหก
ความหมายของคำว่า เวทนา
อุปมาแห่งเวทนา
ความหมายอันแท้จริงของ บาดาล
ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา
วิภาคแห่งเวทนา
ธรรม (คือเวทนา) เป็นสิ่งที่บัญญัติได้หลายปริยาย
เวทนามีธรรมดาไม่เที่ยง
เวทนามีธรรมดาแปรปรวน
เวทนาเป็นทุกข์ เป็นลูกศร เป็นของไม่เที่ยง
เวทนาทุกชนิดสรุปลงในความหมายว่า ทุกข์
เวทนาเป็นทางมาแห่งอนุสัย
อัสสาทะชั้นเลิศของเวทนา
เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
การเกิดของเวทนา เท่ากับ การเกิดของทุกข์
อาการเกิดดับแห่งเวทนา
ข้อความกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
เวทนาขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา

๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์
สัญญาหก
ความหมายของคำว่า สัญญา
อุปมาแห่งสัญญา
หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
สัญญามีธรรมดาแปรปรวน
การเกิดของสัญญาเท่ากับการเกิดของทุกข์
ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สัญญา
สัญญาขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่

๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์
สังขารหก
ความหมายของคำว่า สังขาร
อุปมาแห่งสังขาร
สังขารมีธรรมดาแปรปรวน
การเกิดของสังขารเท่ากับการเกิดของทุกข์
ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สังขาร
สังขารขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่

๕. วิภาคแห่งวิญญาณขันธ์
วิญญาณหก
ความหมายของคำว่า วิญญาณ
อุปมาแห่งวิญญาณ
วิญญาณมีธรรมดาแปรปรวน
วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช
การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์
ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่

(ข.) วิภาคแห่งปัญจุปาทานักขันธ์
อุปาทานสี่
รากเง่าแห่งอุปาทานขันธ์
อุปาทานกับอุปาทานขันธ์มิใช่อันเดียวกัน
อุปาทานและที่ตั้งแห่งอุปาทาน
เบญจขันธ์ได้นามว่าสักกายะและสักกายันตะ
ที่ติดของสัตว์
ผู้ติดบ่วง - ผู้หลุดจากบ่วง
ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน
ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน (อีกนัยหนึ่ง)
ลัทธิอื่นไม่รู้จักเรื่องอัตตวาทุปาทาน

ตอน ๒ ว่าด้วยเบญจขันธ์โดยสรุป
เบญจขันธ์เป็นสิ่งที่ควรรอบรู้
มูลฐานแห่งการบัญญัติเบญจขันธ์ (แต่ละขันธ์)
new title
เบญจขันธ์เป็นที่บัญญัติกฎแห่งสังขตะ
การถูกตราหน้าเพราะอนุสัยในเบญจขันธ์!
การถูกตราหน้าเพราะตายตามเบญจขันธ์
สัญโญชน์และที่ตั้งแห่งสัญโญชน์
ความลับของเบญจขันธ์
เบญจขันธ์เนื่องด้วยปัจจัยแห่งความเศร้าหมองและบริสุทธิ
เบญจขันธ์เป็นธรรมฝ่ายที่แตกสลายได้
เบญจขันธ์ไม่เที่ยง
เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็ไม่เที่ยง
เบญจขันธ์เป็นทุกข์
เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นทุกข์
เบญจขันธ์เป็นอนัตตา
เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา
เบญจขันธ์เป็นภาระที่หนัก
เบญจขันธ์เป็นทั้งผู้ฆ่าและผู้ตาย
เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง
เบญจขันธ์เป็นเครื่องผูกพันสัตว์
เรียกกันว่า สัตว์ เพราะติดเบญจขันธ์
ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่ามีอวิชชา
เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์
ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์

นิทเทศ ๓ ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์
หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์
ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ
ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นทุกข์
ทรงแสดงลักษณะความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
ความเป็นทุกข์สามลักษณะ
ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ
เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ
ทุกข์เพราะยึดถือสิ่งที่ยึดถือไม่ได้
ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต (ไม่มีบุคคลผู้ทุกข์)
ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะ
อายตนะหกเป็นทุกขอริยสัจ
กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน
กลุ่มอายตนะเป็นของมืด
พิษลูกศรแห่งความทุกข์ของบุถุชน
สุขทุกข์เนื่องจากการมีอยู่แห่งขันธ์
ประพฤติพรหมจรรย์นี้ เพื่อรอบรู้ทุกข์
ทุกข์ชนิดปลายแถว
...(ทรงแสดงโดยภาษาคน)
...(ทรงแสดงโดยภาษาธรรม)
...(คาถาผนวกท้ายพระสูตร)
ทุกขอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้

ภาค ๒ : ว่าด้วยสมุทยอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐ คือเหตุให้เกิดทุกข์
อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ
นิทเทศ ๔ ว่าด้วยลักษณะแห่งตัณหา

ลักษณะการแต่งตัณหา
สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา
เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก
สัญโญชน์อย่างเอก
เครื่องจูงใจสู่ภพ
พืชของภพ
เชื้องอกของพืช
ที่เกิดแห่งอุปธิ
ที่เกิดแห่งอุปาทาน
ที่เกิดแห่งอาหาร
ตัณหาโดยวิภาคแห่งอารมณ์หกอย่าง
ภพโดยวิภาค สามอย่าง
ตัณหาโดยวิภาค สามอย่าง
ลักษณะแห่งกามตัณหา
กามคุณห้าคือบ่วง
กามเป็นเครื่องผูก
กามเป็นมายา
ไม่มีความเย็นในกาม
คนกล่าวคำเท็จเพราะกาม
อิทธิพลของกาม
เข้าไปหาความตายเพราะกาม
ความเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์
เพลินอยู่กับอายตนะภายใน เท่ากับ เพลินอยู่ในทุกข์
ความอร่อยกลางกองทุกข์ (ความลวงของกาม)
ความอร่อยที่ไม่คุ้มกับความทุกข์
กามเปรียบด้วยท่อนกระดูก
กามเปรียบด้วยชิ้นเนื้อคาปาก
กามเปรียบด้วยคบเพลิงทวนลม
กามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง
กามเปรียบด้วยของในความฝัน
กามเปรียบด้วยของยืม
กามเปรียบด้วยผลไม้!
รายละเอียดที่ควรศึกษาเกี่ยวกับกาม
ไวพจน์ของกาม
กามเปรียบด้วยรูรั่วของเรือ
ลักษณะแห่งภวตัณหา
ปัจจัยแห่งภวตัณหา
วิภาคแห่งภวตัณหาร้อยแปด
เหตุที่ทำให้ฟังธรรมไม่รู้เรื่อง (เพราะภวตัณหา)
ภพแม้ชั่วขณะดีดนิ้วมือก็ยังน่ารังเกียจ
วิภวตัณหา

นิทเทศ ๕ ว่าด้วยที่เกิดและการเกิดแห่งตัณหา
การเกิดขึ้นแห่งตัณหา
ฐานที่เกิดแห่งตัณหา (สี่อย่าง)
ที่ตั้งอาศัยเกิดแห่งตัณหา
สิ่งที่ต้องรู้ ต้องละ เพื่อความสิ้นทุกข์
ภาวะเป็นที่รักที่ยินดี เป็น หนามในอริยวินัยนี้

นิทเทศ ๖ ว่าด้วยอาการที่ตัณหาทำให้เกิดทุกข์
การเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์
อาการเกิดขึ้นแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์ (สายแห่งปฏิจจสมุปบาท)
วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท
ปัจจัยแห่งอวิชชา
อาการเกิดแห่งความทุกข์
อาการที่ทุกข์เกิดขึ้นจากเบญจขันธ์
อาการที่ทุกข์เกิดขึ้นเพราะยึดถือเบญจขันธ์
อาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) (ทรงแสดงด้วยผัสสะ)
อาการเกิดแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) (ทรงแสดงด้วยนันทิ)
อาการเกิดแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) (ทรงแสดงด้วยฉันทราคะ)
อาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) (ทรงแสดงด้วยอารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งภพใหม่)
อาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) (ทรงแสดงด้วยอารมณ์เป็นที่ก้าวลงแห่งนามรูป)
อาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) (ทรงแสดงด้วยอารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งนติ)
อาการเกิดแห่งความทุกข์โดยสังเขป
อาการเกิดขึ้นแห่งโลก
ความเกิดขึ้นแห่งอายตนะ นั้นคือความเกิดขึ้นแห่งทุกข์
อาการที่ทุกข์เกิดจากอาหาร
อาการที่ทุกข์เกิดขึ้นเพราะตัณหาในอายตนะภายนอก
อาการที่ทุกข์เกิดมาจากตัณหา
ตัณหาเป็นเชื้อแห่งการเกิด
อาสวะทำหน้าที่อย่างเดียวกับตัณหา
อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์
อาการที่พัฒนา (เครื่องนำไปสู่ภพใหม่) เจริญขึ้น
เห็นแก่เหยื่อจึงติดเบ็ด
ผู้แบกของหนัก
จิตมีตัณหา เรียกว่าอยู่สองคน
จิตไม่มีตัณหา เรียกว่าอยู่คนเดียว
ทุกข์โทษที่เกิดจากกาม
ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูล
ตัณหาเป็นเหตุแห่งความโศก

นิทเทศ ๗ ว่าด้วยทิฏฐิที่เกี่ยวกับตัณหา
เพราะมิจฉาทิฏฐิจึงเป็นปลาติดอวน
เกิดกิเลสและทุกข์เพราะทิฏฐิบวก - ทิฏฐิลบ
สักกายทิฏฐิ มีได้ด้วยอาการอย่างไร
สักกายสมุทยคามินีปฏิปทา
เหตุให้เกิดอันตคาหิกทิฏฐิสิบ
ทิฏฐิให้เกิดเวทนาชนิดที่ล้วนแต่เป็นทุกขสมุทัย
ความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ (อุปาทาน)
ตัณหาเจริญเพราะมิจฉาทิฏฐิในปิยรูป - สาตรูป

นิทเทศ ๘ ว่าด้วยกิเลสทั้งหลายในฐานะสมุทัย
ละราคะโทสะโมหะก่อนละชาติชรามรณะ
ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล
ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล (หลายแง่มุม)
ไม่อาจละราคะโทสะโมหะ ก็เพราะหลงในสัญโญชนิยธรรม
สังโยชน์เจ็ด
สังโยชน์เจ็ด (อีกนัยหนึ่ง)
สังโยชน์สิบ
ลักษณะที่เป็นโอรัมภาคิยสังโยชน์
อนุสัยสามคู่กับเวทนาสาม
อนุสัยเนื่องอยู่กับเวทนา
อนุสัยทั้งสามเกิดได้ แม้เมื่อเสวยทุกขเวทนา
รายละเอียดที่ควรศึกษาเกี่ยวกับอาสวะ
เหตุให้อาสวะเจริญและไม่เจริญ
เหตุให้ไม่ปรินิพพานในทิฏฐธรรม
บุคคลผู้ถึงซึ่งอวิชชา
อวิชชา ของผู้ถึงซึ่งอวิชชา
ทุกขสมุทยอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรละ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันศุกร์ที่ 02 กันยายน 2011 เวลา 22:38 น. โดย popja »
สู้สู้

ออฟไลน์ popja

  • Administrator
  • จอมพลัง
  • *****
  • กระทู้: 871
  • น้องวินลูกพ่อป๊อปแม่โบว์
    • แบ่งปันความรู้โรคลมชัก
อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคปลาย
ผู้แปล/เรียบเรียง : พุทธทาส อินทปัญโญ
(ธรรมโฆษณ์ของอาจารย์พุทธทาสภิกขุ)

ธรรมะจากพระโอษฐ์พระผู้มีพระภาคเจ้า
ชุดจากพระโอษฐ์ รวบรวมโดย ท่านพุทธทาสภิกขุ มีดังนี้
1. พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
2. อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น
3. อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคปลาย
4. ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์
5. ขุมทรัพย์จากพระโอษฐ์

สารบัญ

อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคปลาย

ภาค ๔ : ว่าด้วย มัคคอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือมรรค
อุทเทศแห่งมัคคอริยสัจ
นิทเทศ ๑๓ ว่าด้วย ข้อความนำเรื่องมรรค : หมวด ก. ว่าด้วยอุทเทศ-นิทเทศ ของมรรค์
อุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ

นิทเทศ ๑๓ ว่าด้วย ข้อความนำเรื่องมรรค : หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค
ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค)
อีกนัยหนึ่ง (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
อีกนัยหนึ่ง (ตามบาลี ติก.อํ.)
ลักษณะอีกปริยายหนึ่งแห่งกามสุขัลลิกานุโยค
สิ่งที่เรียกว่ากามคุณและกามสุข
สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ
ผลแห่งสุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ

นิทเทศ ๑๓ ว่าด้วย ข้อความนำเรื่องมรรค : หมวด ค. ว่าด้วย ลักษณะของมรรค
อัฎฐังคิกมรรคในฐานะเป็นทางแห่งอมตะำ
อัฏฐังคิกมรรค มีกระแสไหลไปสู่นิพพาน
อัฏฐังคิกมรรคในฐานะหนทางให้ถึงจุดหมาย
อัฏฐังคิกมรรคทำหน้าที่ เสมือนหนึ่งเสวียนรองก้นหม้อ
อัฏฐังคิกมรรค เป็นยอดแห่งสังขตธรรมทั้งปวง
อัฏฐังคิกมรรค คือหนทางเก่าที่ทรงพบใหม่
อัฏฐังคิกมรรคในฐานะเป็นหนทางแห่งการกำหนดรู้ทุกข์
มัชฌิมาปฏิปทาในฐานะเหตุให้เกิดจักษุและญาณเพื่อนิพพาน
มัชฌิมาปฏิปทา ๓ ลำดับ : ก.มัชฌิมาปฏิปทา (พื้นฐานทั่วไป)
มัชฌิมาปฏิปทา ๓ ลำดับ : ข.มัชฌิมาปฏิปทา(ในความหมายชั้นกว้าง)
มัชฌิมาปฏิปทา ๓ ลำดับ : ค.มัชฌิมาปฏิปทา (ในความหมายชั้นลึก)
ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด
ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด

นิทเทศ ๑๓ ว่าด้วย ข้อความนำเรื่องมรรค : หมวด ง. ว่าด้วย เหตุปัจจัยของมรรค
ธรรมเป็นรุ่งอรุณแห่งอัฏฐังคิกมรรค
อัฏฐังคิกมรรคสำเร็จได้ด้วยอัปปมาทยอดแห่งกุศลธรรม

นิทเทศ ๑๓ ว่าด้วย ข้อความนำเรื่องมรรค : หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ของมรรค
อัฏฐังคิกมรรค เป็นปฏิปทาเพื่อความเป็นอริยบุคคลที่สี่
อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะธรรมเครื่องข้ามฝั่ง
อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะพรหมจรรย์
อริยอัฏฐังคิกมรรค เป็นกรรมที่สิ้นกรรม์
อานิสงส์พิเศษแห่งอัฏฐังคิกมรรค์(ทำให้รู้จักพระศาสดาอย่างถูกต้อง)

นิทเทศ ๑๓ ว่าด้วย ข้อความนำเรื่องมรรค : หมวด ฉ. ว่าด้วย ปกิณณกะ
อัฏฐังคิกมรรคกับนิพพาน
โพชฌงค์ในฐานะเป็นมรรค
ปรารภโพชฌงค์แล้ว มรรคก็เป็นอันปรารภด้วย
ปรารภโพชฌงค์แล้ว มรรคก็เป็นอันปรารภด้วย
อุทเทสและนิทเทสแห่งอัฏฐังคิกมรรคแต่ละองค์

นิเทศ ๑๔ ว่าด้วย สัมมาทิฏฐิ : หมวด ก. ว่าด้วย อุทเทศ-วิภาค ของสัมมาทิฏฐิ
อุทเทศแห่งสัมมาทิฏฐิอุทเทศแห่งสัมมาทิฏฐิ
สัมมาทิฏฐิโดยปริยายสองอย่าง(โลกิยะ - โลกุตตระ)

นิเทศ ๑๔ ว่าด้วย สัมมาทิฏฐิ : หมวด ข. ว่าด้วย ลักษณะ-อุปมา-ไวพจน์ ของสัมมาทิฏฐิ
ลักษณะของสัมมาทิฏฐิ(โลกิยะ - โลกุตตระ)
ลักษณะของสัมมาทิฏฐิ(อีกปริยายหนึ่ง)(ระดับสูงสุด)
สัมมาทิฎฐิโลกุตตระ นานาแบบ : ก. หมวดเนื่องด้วยกุศล - อกุศลธรรม
สัมมาทิฎฐิโลกุตตระ นานาแบบ : ข. หมวดเนื่องด้วยอาหารสี่
สัมมาทิฎฐิโลกุตตระ นานาแบบ : ค. หมวดเนื่องด้วยอริยสัจ
สัมมาทิฎฐิโลกุตตระ นานาแบบ : ง.หมวดเนื่องด้วยปฏิจจสมุปปันนธรรมตามหลักแห่งปฏิจจสมุปบาท
ง. ๑ เกี่ยวกับชรามรณะ
ง. ๒ เกี่ยวกับชาติ
ง. ๓ เกี่ยวกับภพ
ง. ๔ เกี่ยวกับอุปาทาน
ง. ๕ เกี่ยวกับตัณหา
ง. ๖ เกี่ยวกับเวทนา
ง. ๗ เกี่ยวกับผัสสะ
ง. ๘ เกี่ยวกับ สฬายตนะ
ง. ๙ เกี่ยวกับนามรูป
ง. ๑๐ เกี่ยวกับวิญญาณ
ง. ๑๑ เกี่ยวกับสังขาร
ง. ๑๒ เกี่ยวกับ อวิชชา
ง. ๑๓ เกี่ยวกับ อาสวะ
สัมมาทิฏฐิเป็นร่งอรุณแห่งกุศลธรรม
สัมมาทิฏฐิเป็นรุ่งอรุณแห่งการรู้อริยสัจสี่
สัมมาทิฏฐิควรจะรวมไปถึงการสำนึกบาป
อริยสัจจญาณ เป็นญาณประเภทยิงเร็ว
ทิ้งเสียนั่นแหละกลับจะประโยชน์
ฆ่ากิเลสอย่าฆ่าคน
วิชชาเป็นตัวชักนำมาซึ่งองค์แปดแห่งสัมมามรรค
ธรรมเป็นส่วนแห่งวิชา

นิเทศ ๑๔ ว่าด้วย สัมมาทิฏฐิ : หมวด ค. ว่าด้วย อุปกรณ์-เหตุปัจจัย ของสัมมาทิฎฐิ
ความกลัวเป็นเหตุแห่งสัมมาทิฏฐิ (ชนิดโลกิยะ)
อริยสัจสี่ เป็นอารมณ์แห่งนิพเพธิกปัญญา
ธรรมเป็นเครื่องเจริญแห่งปัญญา ฯลฯ
เหตุที่ทำให้แสวงหานิพพาน
ฌาน (ที่มีสัญญา) ใช้เป็นฐานแห่งวิปัสสนาได้ในตัวเอง
เหตุให้เกิดและเจริญ แห่งอาทิพรหมจริยิกปัญญา
ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของปัญญาขันธ์
สิ่งสงเคราะห์สัมมาทิฏฐิให้ออกผล
เหตุปัจจัยแห่งวิชชาและวิมุตติ
สัญญาเกิดก่อนญาณ
สัญญาเกิดก่อนญาณ
การทำสมาธิ มีเคล็ดลับเหมือนแม่โคปีนภูเขาลาดชัน
อนิจจสัญญาเป็นไปโดยสะดวกเมื่อผู้เจริญมุ่งอานิสงส์หกประการ
ทุกขสัญญาเป็นไปโดยสะดวกเมื่อผู้เจริญมุ่งอานิสงส์หกประการ
อนัตตสัญญาเป็นไปโดยสะดวกเมื่อผู้เจริญมุ่งอานิสงส์หกประการ
สิ่งทั้งปวงที่ต้องรู้จัก เพื่อความสิ้นทุกข์
ต้นเหตุแห่งมิจฉาทิฏฐิ - สัมมาทิฏฐิ

นิเทศ ๑๔ ว่าด้วย สัมมาทิฏฐิ : หมวด ง. ว่าด้วย หลักการปฏิบัติ ของสัมมาทิฏฐิ
เวทนาเพื่อดับเสียได้ดีกว่ารู้เพื่อเป็นปัจจัยแก่ตัณหา
อัสสาทะ-อาทีนวะ-นิสสรณะของกาม
อัสสาทะ-อาทีนวะ-นิสสรณะของรูปกาย
อัสสาทะ-อาทีนวะ-นิสสรณะของเวทนา
การทำให้เกิดสัมมาทิฏฐิเมื่อมีปัญหาระหว่างลัทธิ
การเห็นกายและเวทนาในระดับแห่งผู้หลุดพ้น
สัมมาทิฏฐิในการเจริญธรรมสาม เพื่อละธรรมสาม
สัมมาทิฏฐิในการเจริญธรรมสามเพื่อละธรรมสาม(อีกนัยหนึ่ง)
สัมมาทิฏฐิในการเจริญธรรมสามเพื่อละธรรมสาม(อีกนัยหนึ่ง)
สัมมาทิฏฐิในการเจริญธรรมสามเพื่อละธรรมสาม(อีกนัยหนึ่ง)
ข้อปฎิบัติเกี่ยวกับธาตุห้า
สัมมาทิฏฐิ ในอาเนญชสัปปายปฏิปท
สัมมาทิฏฐิในอากิญจัญญายตนสัปปายปฏิปทา
สัมมาทิฏฐิในเนวสัญญานาสัญญายตนสัปปายปฏิปทา
สัมมาทิฏฐิต่อโอฆนิตถรณะ
อริยวิโมกข์ หรือโอฆนิตถรณะ
วิธีพิจารณา เพื่ื่อ \"หมดปัญหา\" เกี่ยวกับอาหาร
วิธีพิจารณาในภายใน เพื่อความสิ้นทุกข์
การพิจารณาเพื่อความสิ้นแห่งแดนเกิดของทุกขสมุทัย

หมวด จ. ว่าด้วยอานิสงส์ของสัมมาทิฎฐิ
การเห็นชนิดที่ละมิจฉาทิฏฐิได้
การเห็นชนิดที่ละสักกายทิฏฐิได้
การเห็นชนิดละอัตตานุทิฏฐิได้
การเห็นชนิดที่ละมิจฉาทิฎฐิที่ปรารภอัตตาและโลก
การเห็นไตรลักษณ์ เป็นทางแห่งความหลุดพ้น
ความสะดวกสะบายแก่การดับของกิเลส (นิพพาน)
การรู้จักแสวงหาของมนุษย์ : ก. การแสวงหาที่ไม่ประเสริฐ
การรู้จักแสวงหาของมนุษย์ : ข. การแสวงหาที่ประเสริฐ
อุบายเครื่องสิ้นตัณหาโดยสังเขป
ความถูกต้องเกี่ยวกับความรู้สึกว่าปฏิกูลหรือไม่ปฏิกูล
ภิกษุมิได้เจริญภาวนาเพื่อได้รูปทิพย์เสียงทิพย์
การเห็นความปฏิกูลแห่งยศ - อาหาร - ความรัก-อสุภ - ผัสสะ - อุปาทาน
โลกุตตรผลมีได้จากการตั้งจิตไว้ถูก
ความแน่ใจหลังจากการปฏิบัติ เป็นเครื่องตัดสินความผิด - ถูก
สรุปอานิสงส์ของสัมมาทิฏฐิ

นิเทศ ๑๔ ว่าด้วย สัมมาทิฏฐิ : หมวด ฉ. ว่าด้วย โทษของการขาดสัมมาทิฎฐิ
โทษที่เกิดจากมิจฉาทิฏฐิในการพูด
ทิฎฐิซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งการวิวาท(สามจำพวก)
มิจฉาทิฏฐิที่ว่าวิญญาณเป็นผู้ท่องเที่ยว
โทษแห่งอันตคาหิกทิฏฐิสิบ
อวิชชาเป็นตัวชักนำซึ่งองค์แปดแห่งมิจฉามรรค

นิเทศ ๑๔ ว่าด้วย สัมมาทิฏฐิ : หมวด ช. ว่าด้วย ปกิณกะ
สัสสตทิฏฐิก็อยากอยู่ อุจเฉททิฏฐิก็อยากไป สัมมาทิฏฐิก็อยากดับ
คนรวยก็มีธรรมะได้ (จิตนิยมและวัตถุนิยมก็อยู่ด้วยกันได้)
การใช้ความทุกข์ให้เป็นประโยชน์แก่บุถุชน
ตรัสว่า ถ้าจะมีตัวตนกันบ้าง เอาร่างกายเป็นตัวตนดีกว่าจิต
การทำความรู้จักกับกาย ซึ่งมิใช่ของเราหรือของใครอื่น
อุปมาแห่งการคำนวณความเป็นอนิจจัง
รู้จักเลือก : \"สังฆทานดีกว่า !\"
อาการที่อวิชชาทำให้มีการเกิดดับแห่งสังขาร
รายละเอียดที่ควรเข้าใจให้ถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องกรรม
เห็นผิดจากธรรมชาติ ก็ ไม่อาจทำให้แจ้งมรรคผล

นิทเทศ ๑๕ ว่าด้วยสัมมาสังกัปปะ : หมวด ก. ว่าด้วย อุทเทศ-วิภาค ของสัมมาสังกัปปะ
อุทเทศแห่งสัมมาสังกัปปะ
สัมมาสังกัปปะโดยปริยายสองอย่าง (โลกิยะ - โลกุตตระ)
วิตกโดยปริยายสองอย่าง (เพื่อนิพพาน - ไม่เพื่อนิพพาน)
บุคคลเกี่ยวกับเนกขัมมะ ๔ ประเภท

นิทเทศ ๑๕ ว่าด้วยสัมมาสังกัปปะิ : หมวด ข. ว่าด้วย ลักษณะของสัมมาสังกัปปะ
อริยสัจจวิตก ในฐานะสัมมาสังกัปปะ
อริยสัจจจินตนา ในฐานะสัมมาสังกัปปะ

นิทเทศ ๑๕ ว่าด้วยสัมมาสังกัปปะิ : หมวด ค. ว่าด้วย อุปกรณ์ของสัมมาสังกัปปะ
สิ่งควรทราบเกี่ยวกับอกุศลสังกัปปะ
เนกขัมมะแท้มีได้ เพราะได้รู้รสของสิ่งที่ประเสริฐกว่ากามรส

นิทเทศ ๑๕ ว่าด้วยสัมมาสังกัปปะิ : หมวด ง. ว่าด้วย หลักการปฏิบัติ ของสัมมาสังกัปปะ
วิธีพิจารณาเพื่อเกิดสัมมาสังกัปปะ
อาการเกิดแห่งเนกขัมมสังกัปปะ
วิธีพิจารณาเพื่อกำจัดอกุศลวิตกตามลำดับ
หน้าที่ที่มนุษย์พึงปฏิบัติต่อ\"กาม\" (เพื่อกำจัดกามวิตก)

นิทเทศ ๑๕ ว่าด้วยสัมมาสังกัปปะิ : หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ ของสัมมาสังกัปปะ
การหลีกจากกามเป็นบุรพภาคของพรหมจรรย์
อาการเกิดแห่งกุศลวิตก หรือสัมมาสังกัปปะ
สัมมาสังกัปปะทำให้เกิดสังฆสามัคคี

นิทเทศ ๑๕ ว่าด้วยสัมมาสังกัปปะิ : หมวด ฉ. ว่าด้วย โทษของการขาดสัมมาสังกัปปะ
อาการเกิดแห่งอกุศลวิตกหรือมิจฉาสังกัปปะ

นิทเทศ ๑๕ ว่าด้วยสัมมาสังกัปปะิ : หมวด ช. ว่าด้วย ปกิณณกะ
ธรรมชาติของกามแห่งกามวิตก
ความไม่มีเนกขัมมวิตกในจิตของสามัญสัตว์

นิทเทศ ๑๖ ว่าด้วย สัมมาวาจา : หมวด ก. ว่าด้วย อุทเทศ-วิภาค ของสัมมาวาจา
อุทเทศแห่งสัมมาวาจา์
หลักวิธีการพูดจาที่เป็น อริยะและอนริยะ์
สัมมาวาจาโดยปริยายสองอย่าง (โลกิยะ - โลกุตตระ)
หลักวินิจฉัยวจีกรรม ๓ สถาน
ข้อควรสรรเสริญหรือควรติเตียนเกี่ยวกับสัมมาวาจา

นิทเทศ ๑๖ ว่าด้วย สัมมาวาจา : หมวด ข. ว่าด้วย ลักษณะ ของสัมมาวาจา
คำไขความของสัมมาวาจาสี่
สุภาษิตวาจา ในฐานะสัมมาวาจา
สุภาษิตวาจา ในฐานะสัมมาวาจา (อีกนัยหนึ่ง)
วาจาของสัตบุรุษและอสัตบุรุษ
๑. วาจาของอสัตบุรุษ
๒. วาจาของสัตบุรุษ
๓. วาจาของสะใภ้ใหม่ - สะใภ้เก่า
หลักเกณฑ์แห่งสัมมาวาจาขั้นสูงสุด
สัมมาวาจาชั้นสูงสุด (ระดับพระพุทธเจ้า)

นิทเทศ ๑๖ ว่าด้วย สัมมาวาจา : หมวด ค. ว่าด้วย โทษของการขาดสัมมาวาจา
ตัวอย่างแห่งสัมผัปปลาวาทระดับครูบาอาจารย์ : ตัวอย่างประการที่ ๑
ตัวอย่างแห่งสัมผัปปลาวาทระดับครูบาอาจารย์ : ตัวอย่างประการที่ ๒
ตัวอย่างแห่งสัมผัปปลาวาทระดับครูบาอาจารย์ : ตัวอย่างประการที่ ๓
ตัวอย่างแห่งสัมผัปปลาวาทระดับครูบาอาจารย์ : ตัวอย่างประการที่ ๔
ตัวอย่างแห่งสัมผัปปลาวาทระดับครูบาอาจารย์ : ตัวอย่างประการที่ ๕
วิบากแห่งมิจฉาวาจา

นิทเทศ ๑๗ ว่าด้วย สัมมากัมมันตะ : หมวด ก. ว่าด้วย อุทเทศ-วิภาค ของสัมมากัมมันตะ
อุทเทสแห่งสัมมากัมมันตะ
หลักวินิจฉัยกายกรรม ๓ สถาน หมวดที่ ๑ : เมื่อจะกระทำ
หลักวินิจฉัยกายกรรม ๓ สถาน หมวด ๒ : เมื่อกระทำอยู่
หลักวินิจฉัยกายกรรม ๓ สถาน หมวดที่ ๓ : เมื่อกระทำแล้ว
สัมมากัมมันตะโดยปริยายสองอย่าง (โลกิยะ - โลกุตตระ)

นิทเทศ ๑๗ ว่าด้วย สัมมากัมมันตะ : หมวด ข. ว่าด้วย ลักษณะ ของสัมมากัมมันตะ
คำไขความของสัมมากัมมันตะ
ลักษณะและวิบาก แห่งสัมมากัมมันตะ

นิทเทศ ๑๗ ว่าด้วย สัมมากัมมันตะ : หมวด ค. ว่าด้วย โทษและอานิสงส์ ของสัมมากัมมันตะ
วิบากของมิจฉากัมมันตะ
กรรมที่เป็นเหตุให้ได้รับผลเป็นความกระเสือกกระสน
กรรมที่เป็นเหตุให้ได้รับผลเป็นความไม่กระเสือกกระสน

นิทเทศ ๑๘ ว่าด้วย สัมมาอาชีวะ : หมวด ก. ว่าด้วย อุทเทศ-วิภาค ของสัมมาอาชีวะ
อุทเทศแห่งสัมมาอาชีวะ
สัมมาอาชีวะโดยปริยายสองอย่าง (โลกิยะ - โลกุตตระ)

นิทเทศ ๑๘ ว่าด้วย สัมมาอาชีวะ : หมวด ข. ว่าด้วย ลักษณะ-อุปมา ของสัมมาอาชีวะ
การดำรงชีพชอบ กินความไปถึงความสันโดษ
แม้อยู่ป่า ก็ยังต่างกันหลายความหมาย
การดำรงชีพชอบโดยทิศหก ของฆราวาส
(หน้าที่ที่พึงปฏิบัติต่อทิศเบื้องหน้า)
(หน้าที่ที่พึงปฏิบัติต่อทิศเบื้องขวา)
(หน้าที่ที่พึงปฏิบัติต่อทิศเบื้องหลัง)
(หน้าที่ที่พึงปฏิบัติต่อทิศเบื้องซ้าย)
(หน้าที่ที่พึงปฏิบัติต่อทิศเบื้องต่ำ)
(หน้าที่ที่พึงปฏิบัติต่อทิศเบื้องบน)
(คาถาสรุปความ)
การดำรงชีพชั้นเลิศ ของฆราวาส
การดำรงชีพชั้นรองเลิศ ของฆราวาส
การดำรงชีพชั้นธรรมดา ของฆราวาส
หลักการดำรงชีพ เพื่อผลพร้อมกันทั้งสองโลก
(หลักดำรงชีพเพื่อประโยชน์สุขในทิฏฐธรรม)
(อปายมุขและดายมุขที่เกี่ยวกับประโยชน์ในทิฎฐฏธรรม)
(หลักดำรงชีพเพื่อประโยชน์ สุขในสัมปรายะ)
การดำรงชีพชอบ ตามหลักอริยวงศ์
การดำรงชีพชอบโดยหลักแห่งมหาปุริสวิตก(แปดอย่าง)
(หรือการดำรงชีพชอบของพระอริยเจ้า)
(อานิสงส์แห่งการดำรงชีพชอบ โดยหลักแห่งมหาปุริสวิตกแปด)
(อานิสงส์ที่ครอบคลุมไปถึงความหมายแห่งปัจจัยสี่)
การดำรงชีพชอบ คือการลงทุนเพื่อนิพพาน

นิทเทศ ๑๘ ว่าด้วย สัมมาอาชีวะ : หมวด ค. ว่าด้วย หลักการปฏิบัติ ของสัมมาอาชีวะ
หลักการปฏิบัติเกี่ยวกับปัจจัยสี่

นิทเทศ ๑๘ ว่าด้วย สัมมาอาชีวะ : หมวด ง. ว่าด้วย อานิสงส์ ของสัมมาอาชีวะ
ผลสืบต่อของสัมมาอาชีวะ
สัมมาอาชีวะ สมบูรณ์แบบสำหรับคฤหัสถ์
การดำรงชีพสุจริต มิได้มีเฉพาะเรื่องปัจจัยสี่์

นิทเทศ ๑๙ ว่าด้วย สัมมาวายามะ : หมวด ก. ว่าด้วย อุทเทศ-วิภาค ของสัมมาวายามะ
อุทเทสแห่งสัมมาวายามะ
ปธานสี่ ในฐานะแห่งสัมมาวายาโม

นิทเทศ ๑๙ ว่าด้วย สัมมาวายามะ : หมวด ข. ว่าด้วย ลักษณะ-ไวพจน์-อุปมา ของสัมมาวายามะ
ลักษณะของผู้มีความเพียรสี่อิริยาบถ
ลักษณะของผู้มีความเพียรสี่อิริยาบถ (อีกนัยหนึ่ง)
ไวพจน์ของสัมมาวายามะ คือสัมมัปปธาน
ปธานสี่ในฐานะสัมมัปปธาน
การทำความเพียรดุจผู้บำรุงรักษาป่า

นิทเทศ ๑๙ ว่าด้วย สัมมาวายามะ : หมวด ค. ว่าด้วย อุปกรณ์-เหตุปัจจัย ของสัมมาวายามะ
ความสังเวชเป็นเหตุให้ปรารภความเพียร
บุพพภาคแห่งการทำความเพียรเพื่อความสิ้นอาสวะ
บุพพภาคแห่งการทำความเพียรเพื่อความสิ้นอาสวะ (อีกนัยหนึ่ง)
อินทรีสังวรเป็นอุปกรณ์แก่สัมมาวายามะ (ส่วนที่เป็นการพากเพียรปิดกั้นการเกิดอกุศล)
เวทนาสามเกี่ยวกับความเพียรละอกุศลและเจริญกุศล
การเสพที่เป็นอุปกรณ์และไม่เป็นอุปกรณ์ แก่ความเพียรละอกุศลและเจริญกุศล
๑. การเสพกายสมาจาร
๒. การเสพวจีสมาจาร
๓. การเสพมโนสมาจาร
๔. การเสพจิตตุปบาท
๕. การเสพสัญญาปฏิลาภ
๖. การเสพทิฏฐิปฏิลาภ
๗. การเสพอัตตาภาวปฏิลาภ
๘. การเสพอารมณ์หก
๙. การเสพปัจจัยสาม
๑๐.-๑๓ การเสพคาม ? นิคม-นคร - ชนบท
๑๔. การเสพบุคคล
ชาคริยานุโยคคือส่วนประกอบของความเพียร
ศิลปะแห่งการปลุกเร้าความเพียร
ผู้มีลักษณะควรประกอบความเพียร

นิทเทศ ๑๙ ว่าด้วย สัมมาวายามะ : หมวด ง. ว่าด้วย หลักการปฏิบัติ ของสัมมาวายามะ
เพียรละอกุศลแข่งกับความตาย
การทำความเพียรแข่งกับอนาคตภัย
การทำความเพียรแข่งกับอนาคตภัย (อีกนัยหนึ่ง)
บทอธิษฐานจิตเพื่อทำความเพียร

นิทเทศ ๑๙ ว่าด้วย สัมมาวายามะ : หมวด จ. ว่าด้วย ปกิณณกะ
อุปสรรคของการประกอบสัมมาวายามะ
ก. เครื่องตรึงจิต ๕ อย่าง
ข. เครื่องผูกพันจิต ๕ อย่าง
ข้อแก้ตัวของคนขี้เกียจ
สมัยที่ไม่เหมาะสมสำหรับการทำความเพียร
ผู้อยู่อย่างคนมีทุกข์ก็ทำกุศลรรมให้เต็มเปี่ยมได้
ในการละกิเลสแม้ชั้นสูง ก็ยังมีการอยู่เป็นสุข
เพียงแต่รู้ชัดอริยสัจ สัมมาวายามะยังไม่ใช่ถึงที่สุด

นิทเทศ ๒๐ ว่าด้วย สัมมาสติ : หมวด ก. ว่าด้วยอุทเทศ-วิภาค ของสัมมาสติ
อุทเทสแห่งสัมมาสติ
สติปัฏฐานสี่ เป็นเอกายนมรรค

นิทเทศ ๒๐ ว่าด้วย สัมมาสติ : หมวด ข. ว่าด้วย ลักษณะ-อุปมา ของสัมมาสติิ
ลักษณะแห่งความมีสติสัมปชัญญะของภิกษุ
ลักษณะสัมปชัญญะระดับสูงสุด
สัมมาสติ ในฐานะเครื่องทำตนให้เป็นที่พึ่ง
สติปัฏฐานสี่ เป็นโคจรสำหรับสมณะ
สติปัฏฐานสี่ ที่ส่งผลถึงวิชชาและวิมุตติ
แบบการเจริญอานาปานสติที่มีผลมาก
(แบบที่หนึ่ง)
(แบบที่สอง)
การเจริญสติปัฏฐานของคนฉลาด

นิทเทศ ๒๐ ว่าด้วย สัมมาสติ : หมวด ค. ว่าด้วย อุปกรณ์-เหตุปัจจัยโดยอัตโนมัติ ของสัมมาสติ
ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งการเจริญสติ
ธรรมเป็นอุปการะเฉพาะ แก่อานาปานสติภาวนา (นัยที่หนึ่ง)
ธรรมเป็นอุปการะเฉพาะ แก่อานาปานสติภาวนา (นัยที่สอง)
ธรรมเป็นอุปการะเฉพาะ แก่อานาปานสติภาวนา (นัยที่สาม)
ฐานที่ตั้งแห่งความมีสัมปชัญญะ ๑๙ ฐาน
สติปัฏฐานสี่บริบูรณ์ เมื่ออานาปานสติบริบูรณ์
สติปัฏฐานสี่บริบูรณ์ ย่อมทำโพชฌงค์ให้บริบูรณ์
โพชฌงค์บริบูรณ์ ย่อมทำวิชาและวิมุตติให้บริบูรณ์

นิทเทศ ๒๐ ว่าด้วย สัมมาสติ : หมวด ง. ว่าด้วย หลักการปฏิบัติ ของสัมมาสติ
การทำสติในรูปแห่งกายานุปัสสนา ๑. ตามนัยแห่งอานาปานสติสูตร์์์
การทำสติในรูปแห่งกายานุปัสสนา ๒. ตามนัยแห่งมหาสติปัฏฐานสูตร
ก. หมวดลมหายใจเข้า - ออก (คือกาย)
ข. หมวดอิริยาบถ (คือกาย)
ค.หมวดสัมปชัญญะ(ในกาย)
ง. หมวดมนสิการในสิ่งปฏิกูล (คือกาย)
จ. หมวดมนสิการในธาตุ(ซึ่งเป็นกาย)
ฉ. หมวดนวสีวถิกา (คือกาย)

นิทเทศ ๒๐ ว่าด้วย สัมมาสติ : หมวด ง. ว่าด้วย หลักการปฏิบัติ ของสัมมาสติ
การทำสติในรูปแห่งเวทนานุปัสสนา ๑. ตามนัยแห่งอานาปานสติสูตร
การทำสติในรูปแห่งเวทนานุปัสสนา ๒. ตามนัยแห่งมหาสติปัฏฐานสูตร
การทำสติในรูปแห่งจิตตานุปัสสนา ๑. ตามนัยแห่งอานาปานสติสูตร
การทำสติในรูปแห่งจิตตานุปัสสนา ๒. ตามนัยแห่งมหาสติปัฏฐานสูตร
การทำสติในรูปแห่งธัมมานุปัสสนา ๑. ตามนัยแห่งอานาปานสติสูตร
การทำสติในรูปแห่งธัมมานุปัสสนา ๒. ตามนัยแห่งมหาสติปัฏฐานสูตร
ก. หมวดนิวรณ์ (คือธรรม)
ข. หมวดขันธ์ (คือธรรม)
ค. หมวดอายตนะ(คือธรรม)
ง. หมวดโพชฌงค์(คือธรรม)
จ. หมวดอริยสัจ (คือธรรม)
อุบายแห่งการดำรงจิตในสติปัฏฐาน
ข้อควรระวัง ในการเจริญสติปัฏฐานสี่
กายคตาสติ เป็นอุปกรณ์แก่อินทรยสังวร ก. โทษของการไม่มีกายคตาสติ
กายคตาสติ เป็นอุปกรณ์แก่อินทรยสังวร ข. คุณของกายคตาสติิี่
หลักสำคัญสำหรับผู้หลีกออกเจริญสติปัฏฐานอยู่ผู้เดียว
ตรัสให้มีสติคู่กันไปกับสัมปชัญญะ
การฝึกเพื่อความสมบูรณ์แห่งสติสัมปชัญญะ
การฝึกเพื่อมีสติสัมปชัญญะโดยอ้อมและโดยตรง
โอวาทแห่งการทำสติ เมื่อถูกติหรือถูกชม
ความมีสติเมื่อถูกประทุษร้าย
ทรงขอให้มีสติเร็วเหมือนม้าอาชาไนย
สติในการเผชิญโลกธรรมของอริยสาวก
(คาถาผนวกท้ายพระสูตร)

นิทเทศ ๒๐ ว่าด้วย สัมมาสติ : หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ ของสัมมาสติ
อานิสงส์ตามปกติ แห่งอานาปานสติ
ก. อานิสงส์อย่างสังเขปที่สุด ๒ ประการ
ข. อานิสงส์ตามปกติ ๗ ประการ
ค. ทำสติปัฏฐานสี่ - โพชฌงค์เจ็ด - วิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์
ง. อานิสงส์ตามที่เคยปรากฏแก่พระองค์เอง
จ. ละความดำริอันอาศัยเรือน
ง. อานิสงส์ตามที่เคยปรากฏแก่พระองค์เอง
จ. สามารถควบคุมความรู้สึกเกี่ยวกับความปฏิกูล
ช. เป็นเหตุให้ได้รูปฌานทั้งสี่
ญ. เป็นเหตุให้ได้อรูปฌานทั้งสี่
ฎ. เป็นเหตุให้ได้สัญญาเวทยิตนิโรธ
ฏ. สามารถกำจัดบาปปอกุศลทุกทิศทาง
อานิสงส์พิเศษ แห่งอานาปานสติ
ก. กายไม่โยกโคลง
ข. รู้ต่อเวทนาทุกประการ
ค. มีสุขวิหารอันสงบเย็น
ง. เป็นสุขแล้วดำเนินไปในตัวเอง จนสิ้นอาสวะ
จ. ควรแก่นามว่า อริยวิหาร-พรหมวิหาร-ตถาคตวิหาร
ฉ. ทำสังโยชน์ให้สิ้น-กำจัดอนุสัย-รู้ทางไกล-สิ้นอาสวะ
ช. รู้จักลมหายใจอันจักมีเป็นครั้งสุดท้ายแล้วดับจิต
ญ. เหตุปัจจัยที่พระศาสนาจะตั้งอยู่นานภายหลังพุทธปรินิพพาน
อานิสงส์ แห่งความไม่ประมาทคือสติ
สติปัฏฐานสี่เป็นเครื่องละปุพพันตอปรันตสหคตทิฏฐินิสสัย
การเจริญสติปัฏฐาน เป็นการอารักขาทั้งตนเองและผู้อื่น

นิทเทศ ๒๐ ว่าด้วย สัมมาสติ : หมวด ฉ. ว่าด้วย โทษของการขาดสัมมาสติ
จิตที่ปราศจากสติ ย่อมปรารถนาลาภได้ทั้งที่ชอบอยู่ป่า

นิทเทศ ๒๐ ว่าด้วย สัมมาสติ : หมวด ช. ว่าด้วย ปกิณณกะ
ลักษณะของผู้อาจและไม่อาจเจริญสติปัฏฐานสี่
ทั้งนวกะ -เสขะ - อเสขะ ก็พึงเจริญสติปัฏฐาน
สติปัฏฐานสี่เหมาะสมทั้งแก่อเสขะ - เสขะ - คฤหัสถ์
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันศุกร์ที่ 02 กันยายน 2011 เวลา 22:39 น. โดย popja »
สู้สู้

ออฟไลน์ popja

  • Administrator
  • จอมพลัง
  • *****
  • กระทู้: 871
  • น้องวินลูกพ่อป๊อปแม่โบว์
    • แบ่งปันความรู้โรคลมชัก

ขุมทรัพย์จากพระโอษฐ์

เป็นคำชี้ขุมทรัพย์ที่ตรัสเอง ไม่มีคำเรียบเรียงของผู้แต่งคละปน
เพราะเป็นที่รวบรวมเฉพาะพระพุทธภาษิต ที่ตรัสขนาบและ
ชี้ชวนไว้ด้วยพระองค์เอง จากพระไตรปิฎกล้วน เลือกเก็บ
เอามาร้อยกรองให้เป็นหมวดหมู่ ติดต่อกันตามลำดับ เพื่อ
สะดวกแก่การศึกษาของผู้ขุดค้นขุมทรัพย์ เพื่อเป็นกำลังใจของ
ผู้เหน็ดเหนื่อยในการขุดค้นขุมทรัพย์ และเพื่อเป็นเครื่องกลับ
ตัวของผู้ที่ขุดค้นขุมทรัพย์อยู่ในวิธีที่นอกทาง เป็นส่วนพิเศษ

ขุมทรัพย์จากพระโอษฐ์

ผู้แปล/เรียบเรียง : พุทธทาส อินทปัญโญ
(ธรรมโฆษณ์ของอาจารย์พุทธทาสภิกขุ)

ธรรมะจากพระโอษฐ์พระผู้มีพระภาคเจ้า
ชุดจากพระโอษฐ์ รวบรวมโดย ท่านพุทธทาสภิกขุ มีดังนี้
1. พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
2. อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น
3. อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคปลาย
4. ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์
5. ขุมทรัพย์จากพระโอษฐ์
สารบัญ

หมวดที่ ๑ ว่าด้วย การทุศีล
ผ้าเปลือกปอ
น้ำติดก้นกะลา
งูเปื้อนคูถ
ทำตัวเหมือนโจร
กอดกองไฟ
การ ?ตัด? ถึงเยื่อในกระดูก
การถูกแทงด้วย ?หอก?
จีวรที่ลุกเป็นไฟ
ก้อนข้าวที่ลุกเป็นไฟ
เตียงตั่งที่ลุกเป็นไฟ
กุฏิวิหารที่ลุกเป็นไฟ
ผู้หมดหวัง
เมื่อโจรกำเริบ

หมวดที่ ๒ ว่าด้วย การไม่สังวร
ผู้ถูกฉุดรอบด้าน
แมวตายเพราะหนู
เนื้อนาที่ไม่เกิดบุญ
เสียขวัญตั้งแต่เห็นผงคลี
เสียขวัญตั้งแต่เห็นยอดธงชัยของข้าศึก
เสียขวัญตั้งแต่ได้ยินเสียงโห่ร้อง
เสียขวัญตั้งแต่พอเริ่มการสัมประหารกัน
ผู้ที่ตายคาที่
ผู้ตายกลางทาง
ผู้ตายที่บ้าน
ผู้รอดตาย
ผู้นอกรีต - เลยเถิด
ผู้ชะล่าใจ
ผู้ชอบเข้าบ้าน
ผู้ชอบคลุกคลีกับชาวบ้าน

หมวดที่ ๓ ว่าด้วย เกียรติและลาภสักการะ
ฤทธิเดชของลาภสักการะ
สุนัขขี้เรื้อน
เต่าติดชนัก
ปลากลืนเบ็ด
ผู้กินคูถ
ผู้ติดเซิงหนาม
ผู้ถูกหลาวอาบยาพิษ
จักรแห่งอสนีบาต
ลมเวรัมภา
ลูกสุนัขดุถูกขยี้ด้วยดีสัตว์
ความฉิบหายของผู้หลงสักการะ
การออกผลเพื่อฆ่าตนเอง

หมวดที่ ๔ ว่าด้วยการทำไปตามอำนาจกิเลส
ผู้ไม่หนุนหมอนไม้
ผู้เห็นแก่นอน
ผู้ต้องการนุ่งงามห่มงาม
ผู้ต้องการกินดี
ผู้ต้องการอยู่ดี
ภัยมีเพราะการระคนใกล้ชิดสตรี
ภัยเกิดเพราะกลัวอด
ราคีของนักบวช
เมื่อโจรปล้นชาวเมือง
คนนอกบัญชี
คนแหวกแนว
คนทิ้งธรรม
คืนวันที่มีแต่ ?ความมืด?
ผู้ถูกตรึง
ผู้ถูกแมลงวันตอม
ป่าช้าผีดิบ

หมวดที่ ๕ ว่าด้วย การเป็นทาสตัณหา
ผู้เห็นแก่อามิส
ไม่คุ้มค่าข้าวสุก
ขี้ตามช้าง
ติดบ่วงนายพราน
ผู้ถูกล่าม
หมองูตายเพราะงู
อมิตตภิกขุ
เป็นโรคชอบเที่ยวเรื่อยเปื่อย

หมวดที่ ๖ ว่าด้วย การหละหลวมในธรรม
นกแก้ว นกขุนทอง
ถุงลม
ปริยัติที่เป็นงูพิษ
ผู้ไม่ควรพูดอภิธรรม
เนื้อแท้อันตรธาน
ผู้ทำศาสนาเสื่อม
คนไม่ควรเลี้ยงโค เป็นต้น
ลูกนอกคอก
ผู้โลเล
ภิกษุร้องเพลง
ผู้มัวแต่อวดฉลาด
พระหลวงตา
พระถูกฆ่า
ผู้หล่นจากศาสนา

หมวดที่ ๗ ว่าด้วย การลืมคำปฏิญาณ
?กู เป็นโค ! ?
สมณะแกลบ
ชอบให้หญิงประคบประหงม
ชอบสัพหยอกกับหญิง
ชอบสบตาผู้หญิง
ชอบฟังเสียงผู้หญิง
ชอบระลึกถึงความหลังเกี่ยวกับหญิง
ชอบดูผู้อื่นบริโภคกาม
ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อเป็นเทพยดา
ฉิบหายเพราะคลื่น
ฉิบหายเพราะจระเข้
ฉิบหายเพราะวังวน
ฉิบหายเพราะปลาร้าย
เห็นยอดอ่อน ๆ ว่าเป็นแก่น
หลงสะเก็ดแห้ง ว่าเป็นแก่น
หลงเปลือกสด ๆ ว่าเป็นแก่น
หลงกระพี้ไม้ ว่าเป็นแก่น
ไม่รู้ ?ความลับ? ของขันธ์ห้า
ไม่รู้ ?ความลับ? ของอุปทานขันธ์
ไม่รู้ ?ความลับ? ของธาตุสี่
ไม่รู้ ?ความลับ? ของอินทรีย์หก
ไม่รู้ ?ความลับ? ของอินทรีย์ห้า
ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท ไม่ได้เป็นสมณะ
ไม่รู้อริยสัจจ์ ไม่ได้เป็นสมณะ

หมวดที่ ๘ ว่าด้วย พิษสงทางใจ
ดาบที่หมกอยู่ในจีวร
ยาพิษในโลก
ผู้ตกเหว
ผู้เห็นแต่จะทะเลาะวิวาท
ผู้มีความจำเป็นต้องคิดทำลายสงฆ์
ม้าพยศแปดจำพวก เป็นต้น
ผู้จมมิดในหลุมคูถ
สันดานกา
พระรังโรค
ผู้ควรอยู่ในคอกไปก่อน
ผู้เกียจคร้านตลอดเวลา
ลิงติดตัง
ลาสึกเพราะติดเมา

หมวดที่ ๙ ว่าด้วย การเสียความเป็นผู้หลักผู้ใหญ่
วอดวายเพราะผู้นำ
อุปัชฌายะเสีย
อาจารย์เสีย
เถระเสีย
เถระที่ต้องระวัง
เถระพาล
เถระวิปริต
เถระโลเล (หลายแบบ)
พ่อฆ่าลูก
สมภารผิดหลัก
สมภารติดถิ่น
สมภารติดที่อยู่

หมวดที่ ๑๐ ว่าด้วย การมีศีล
ผ้ากาสี
รักษาพรหมจรรย์ไว้ด้วยน้ำตา
ผู้ที่ควรเข้าใกล้
ละได้จักอยู่เป็น ?พระ?
สมณพราหมณ์ที่น่านับถือ
ผลประโยชน์ของความเป็นสมณะ
ผู้ละความทุศีลเสียได้
ภิกษุผู้มีศีลสมบูรณ์แล้ว
ผู้มีศีลไม่ทำลายพืชคามและภูตคาม
ผู้มีศีลไม่ทำการบริโภคสะสม
ผู้มีศีลไม่ดูการเล่น
ผู้มีศีลไม่เล่นการพนัน
ผู้มีศีลไม่นอนบนที่นอนสูงใหญ่
ผู้มีศีลไม่ประดับตกแต่งร่างกาย
ผู้มีศีลไม่พูดคุยเดรัจฉานกถา
ผู้มีศีลไม่กล่าวคำแก่งแย่งกัน
ผู้มีศีลไม่เป็นทูตนำข่าว
ผู้มีศีลไม่ล่อลวงชาวบ้าน
ผู้มีศีลไม่เป็นหมอทายโชคลาง
ผู้มีศีลไม่เป็นหมอทายลักษณะสิ่งของ
ผู้มีศีลไม่เป็นหมอทำนายการรบพุ่ง
ผู้มีศีลไม่เป็นหมอโหราศาสตร์
ผู้มีศีลไม่เป็นหมอทำนายดินฟ้าอากาศ
ผู้มีศีลไม่เป็นหมอดูฤกษ์ยาม
ผู้มีศีลไม่เป็นหมอผีและหมอยา
อธิศีลสิกขา
สมณกิจ
กิจของชาวนา
ตั้งหน้าทำก็แล้วกัน
เครื่องมือละกิเลส
เมื่อมีศีลควรส่งตนไปในแนวเผากิเลส
อริยกันตศีล
ศีลอยู่เคียงคู่กับปัญญาเสมอ
ชำระศีลและทิฏฐิให้บริสุทธิ์ก่อน
ศีลเป็นฐานรองรับสติปัฏฐานสี่
ศีลเป็นฐานรองรับสติปัฏฐานสี่(อีกนัยหนึ่ง)
ศีลเป็นฐานรองรับโพชฌงค์เจ็ด
ศีลเป็นฐานรองรับอริยมรรคมีองค์แปด
ศีลสมบัติเป็นรุ่งอรุณแห่งอริยมรรค
ศีลสมบัติเป็นธรรมมีอุปการะมากชั้นเอก
ศีลสมบัติช่วยทำให้อริยมรรคเจริญเต็มที่
ผู้มีศีลจักถึงแก่นธรรม
อำนาจศีลที่เป็นตัวกุศล
อานิสงส์สำหรับผู้ทำศีลให้สมบูรณ์
ผู้อยู่เหนือความหวัง
เมื่อราชามีกำลัง
ประสบบุญใหญ่

หมวดที่ ๑๑ ว่าด้วย การมีสังวร
ผู้มีหลักเสาเขื่อน
ไม่ตกอบายดีกว่า
ช้างนาบุญ
ผู้พิชิตสงครามถึงที่สุดแล้ว
ผู้พิชิตสงครามถึงที่สุดแล้ว(อีกนัยหนึ่ง)
ผู้อยู่ในร่องรอย
ผู้สมควรอยู่ป่า
ผู้ต้องติดต่อด้วยสตรี
ผู้ทำตามคำสั่งแท้จริง
กระดองของบรรพชิต
ผู้เอาตัวรอดได้เพราะสังวรด้วยความรู้
ผู้สำรวมมาจากภายในเปรียบด้วยหม้อเต็มปิดไว้
ผู้ได้รับผลแห่งอินทรียสังวร

หมวดที่ ๑๒ (ก) ว่าด้วย การเป็นอยู่ชอบ
ผู้รู้เท่าทันลาภสักการะ
ผู้รู้จักอันตรายของทิฏฐธรรมสุข
ผู้ควรปลีกตัวออกจากหมู่ได้
ผู้ที่น่าเคารพ
ผู้ที่น่ารัก
ภิกษุที่ดี

หมวดที่ ๑๒ (ข) ว่าด้วย การเป็นอยู่ชอบ
การเป็นอยู่อย่างบรรพชิต
ผู้เป็นเชื้อสายแห่งพระอริยเจ้า
ผู้อยู่ด้วยเครื่องอยู่แบบพระอริยเจ้า
ผู้ระลึกถึงสถานที่ที่ควรจะระลึกตลอดชีวิต
ผู้สอบทานตัวเอง

หมวดที่ ๑๒ (ค) ว่าด้วย การเป็นอยู่ชอบ
ธรรมทายาท
ฉันอาหารวันละหนเดียว
หลังอาหารแล้วภาวนา
ผู้ขึงสายพิณพอเหมาะ
ผู้มีธรรมเป็นที่พึ่ง
ผู้ไม่ประมาทในความตายแท้จริง
ทางรอดสำหรับภิกษุไข้
ผู้อยู่ใกล้นิพพาน
ผู้จักทำนิพพานให้แจ้ง
ผู้เป็นอยู่อย่างถูกพระพุทธอัธยาศัย

หมวดที่ ๑๒ (ฆ) ว่าด้วย การเป็นอยู่ชอบ
จุดประสงค์ของพรหมจรรย์
เครื่องประดับของพรหมจรรย์
ผลของพรหมจรรย์ที่แยบคาย
โพธิปักขิยธรรม
สติปัฏฐานที่เอียงไปนิพพาน
สัมมัปปธานที่เอียงไปนิพพาน
อิทธิบาทที่เอียงไปนิพพาน
อินทรีย์ที่เอียงไปนิพพาน
พละที่เอียงไปนิพพาน
โพชฌงค์ที่เอียงไปนิพพาน
อัฏฐังคิกมรรคที่เอียงไปนิพพาน
เชิงรองของจิต
อริยสัมมสมาธิ
โลกจะไม่ว่างจากพระอรหันต์

หมวดที่ ๑๒ (ง) ว่าด้วย การเป็นอยู่ชอบ
หมู่ซึ่งอยู่เป็นผาสุก
ผู้มีธรรมเป็นเครื่องอยู่ผาสุก
ภิกษุเก่าคอยช่วยเหลือภิกษุใหม่
การเป็นอยู่ที่ไม่เสื่อมแบบที่หนึ่ง
การเป็นอยู่ที่ไม่เสื่อมแบบที่สอง
การเป็นอยู่ที่ไม่เสื่อมแบบที่สาม
การเป็นอยู่ที่ไม่เสื่อมแบบที่สี่
การเป็นอยู่ที่ไม่เสื่อมแบบที่ห้า

หมวดที่ ๑๓ ว่าด้วย การไม่ทำไปตามอำนาจกิเลส
ท่อนไม้ที่ลอยออกไปได้ถึงทะเล
ผู้เลือกเอาข้างอยู่ป่า
ผู้ชนะภัย ๕ อย่าง
ผู้อยู่ป่าชนะภัย ๕ อย่าง
ผู้หมดราคี
คนในบัญชี
คนไม่แหวกแนว
คนไม่ทิ้งธรรม
คืนวันที่มีแต่ ?ความสว่าง?
ผู้ไม่ถูกตรึง
ผู้รอดจากการสึก
ผู้เปรียบด้วยการไม่ถูก ?แมลงวันตอม?

หมวดที่ ๑๔ ว่าด้วย การไม่เป็นทาสตัณหา
ผู้เห็นแก่ธรรม
ข้าวของชาวเมืองไม่เสียเปล่า
คุ้มค่าข้าวสุก
เนื้อที่ไม่ติดบ่วงนายพราน
ผู้ไม่ถูกล่าม
มิตตภิกขุ
ไม่เป็นโรคชอบเที่ยวเรื่อยเปื่อย

หมวดที่ ๑๕ ว่าด้วย การไม่หละหลวมในธรรม
ผู้ไม่ใช่นกแก้วนกขุนทอง
ถุงธรรม
ปริยัติที่ไม่เป็นงูพิษ
ผู้สนทนาถูกเรื่องที่ควรสนทนา
เนื้อแท้ที่ไม่อันตรธาน
ยอดแห่งความเพียร
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันศุกร์ที่ 02 กันยายน 2011 เวลา 22:39 น. โดย popja »
สู้สู้

ออฟไลน์ popja

  • Administrator
  • จอมพลัง
  • *****
  • กระทู้: 871
  • น้องวินลูกพ่อป๊อปแม่โบว์
    • แบ่งปันความรู้โรคลมชัก
ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์

ใจความสำคัญ
บทนำ

ว่าด้วย เรื่องที่ควรทราบ
สิ่งที่เรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท
เห็นปฏิจจสมุปบาท คือเห็นพระพุทธองค์
คนเราจิตยุ่ง เพราะไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท
ทรงแนะนำอย่างยิ่ง ให้ศึกษาเรื่องปฏิจจสมุปบาท
คนเราไม่ปรินิพพานในทิฏฐธรรม เพราะไม่สามารถตัดกระแสแห่งปฏิจจสมุปบาท

[/color]หมวด๑
กฎอิทัปปัจจยตา: หัวใจปฏิจจสมุปบาท
ลำดับเรื่องเฉพาะหมวดที่ ๑

ก. ว่าด้วย ลักษณะ ๖ เรื่อง
ความหมายของปฏิจจสมุปบาท แต่ละอาการ
ปฏิจจสมุปบาทแต่ละอาการ เป็นปฏิจจสมุปปันนธรรม
ทรงขยายความปฏิจจสมุปบาท อย่างวิธีถามตอบ
ปัจจยาการแม่เพียงอาการเดียว
แม้แสดงเพียงผัสสะให้เกิดเวทนาก็ยังเรียกว่าปฏิจจสมุปบาท
ทรงเปรียบปฏิจจสมุปบาทด้วยการขึ้นลงของน้ำทะเล

ข. ว่าด้วย วัตถุประสงค์ ๖ เรื่อง
การเห็นปฏิจจสมุปบาท ชื่อว่าการเห็นธรรม
ปฏิจจสมุปบาทคือกฎแห่งธรรมทิฏฐิ-ธรรมนิกาย
ปฏิจจสมุปบาท เป็นเรื่องลึกและดูลึก
ปฏิจจสมุปบาท เป็นเรื่องลึกซึ้ง เท่ากับเรื่องนิพพาน
นรกเพราะไม่รู้ปฏิจจสมุปบาทร้อนยิ่งกว่านรกไหนหมด
ผู้แสดงธรรมโดยหลักปฏิจจสมุปบาทเท่านั้นจึงชื่อว่า\"เป็นธรรมกถึก\"

ค. ว่าด้วย วัตถุประสงค์ ๖ เรื่อง
ปฏิจจสมุปบาท ทำให้อยู่เหนือความมีและความไม่มีของสิ่งทั้งปวง
ไม่มีผู้นั้น หรือผู้อื่น ในปฏิจจสมุปบาท
กายนี้ไม่ใช่ของใคร เป็นเพียงกระแสปฏิจจสมุปบาท
ธรรมที่ทรงแสดงเพื่อไม่ให้รู้สึกว่ามีสัตว์บุคคลตัวตนเราเขา
ไม่มีตนเอง ไม่มีผู้อื่น ที่ก่อสุขและทุกข์
การรู้ปฏิจจสมุปบาท เป็นหลักการพยากรณ์อรหัตตผล

[/color]หมวด ๒
[/color]กฏอิทัปปัจจยตา: หัวใจปฏิจจสมุปบาท.
ลำดับเรื่องเฉพาะหมวด๒
เรื่องปฏิจจสมุปบาทคือเรื่องอริยสัจ
ปฏิจจสมุปบาททุกอาการมีลักษณะแห่งความเป็นอริยสัจสี่
ปฏิจจสมุทบาท ซึ่งแสดงการก่อขึ้นแห่งทุกข์
ปฏิจจสมุทบาท ซึ่งแสดงการการดับลงแห่งทุกข์
อริยสัจในรูปแห่งปฏิจจสมุทบาทมีในขณะแห่งเวทนา
อาการที่ยุ่งยากที่สุดของปฏิจจสมุทบาทคืออาการของตัณหา
ความเหนียวแน่นของสัสสตทิฏฐิปิดบังการเห็นอริยสัจสี่
นัตถิกทิฏฐิปิดบังการเห็นอริยสัจสี่

[/color]หมวด ๓
[/color]กฏอิทัปปัจจยตาหัวใจ : ปฏิจจสมุปบาท.
ลำดับเรื่องเฉพาะหมวด๓
ปฏิจจสมุปบาทมีเมื่อมีการกระทบทางอายตนะ
ปฏิจจสมุปบาทดับได้กลางสาย
นันทิดับเมื่อใด ปฏิจจสมุปบาทดับเมื่อนั้น
ในภาษาปฏิจจสมุปบาทกรรมให้ผล ในอัตตภาพที่กระทำกรรม
เห็นปฏิจจสมุปบาท คือฉลาดในเรื่องกรรม
นามรูปหยั่งลง เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอัสสาทะ
นามรูปไม่หยั่งลง เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอาทีนวะ
ปฏิจจสมุปบาท ที่ตรัสระคนกับปัญจุปาทานขันธ์

[/color]หมวด ๔
[/color]กฏอิทัปปัจจยตาหัวใจปฏิจจสมุปบาท.
ลำดับเรื่องเฉพาะหมวด ๔
ปฏิจจสมุปบาทจะมีได้แก่ทารกเฉพาะที่โตขึ้นถึงขนาดรู้สึกยึดถือในเวทนา
ปัจจยาการแห่งเวทนา โดยละเอียด
อายตนะ คือ จุดตั้งต้นของปฏิจจสมุปบาท
การเกิดขึ้นแห่งไตรทวารขึ้นอยู่กับการเกิดขึ้นแห่งอวิชชาของปฏิจจสมุปบาท
อวิชชาสัมผัสคือต้นเหตุอันแท้จริงของปฏิจจสมุปบาท
นามรูปก้าวลง เมื่ออนุสัยก่อขึ้น
ตัณหาเกิดขึ้น เมื่ออนุสัยก่อขึ้น
ภพใหม่เกิดขึ้น เมื่ออนุสัยก่อขึ้น
การหยั่งลงแห่งวิญญาณเกิดมีขึ้นเมื่อเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอัสสาทะ
การหยั่งลงแห่งวิญญาณไม่มีเพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอาทีนวะ
การเกิดแห่งโลก คือการเกิดแห่งกระแสปฏิจจสมุปบาทที่เกิดขึ้นในใจคนทุกคราวไป
การดับแก่โลก คือการดับแห่งกระแสปฏิจจสมุปทาทที่ดับลงในใจคน ทุกคราวไป

[/color]หมวด ๕
[/color]กฏอิทัปปัจจยตา: หัวใจปฏิจจสมุปบาท.
ลำดับเรื่องเฉพาะหมวด
ทรงแสดงอัตตวาทุปาทานในลักษณะแห่งปฏิจจสมุปบาท
เวทนาในปฏิจจสมุปบาท ให้เกิดอนุสัยสาม
ปฏิจจสมุปบาทแห่งการเกิดสังขาร ๔ ประเภท
การดับตัณหาเสียได้ก่อนแต่จะเกิดปฏิจจสมุปบาท
การสิ้นกรรม ตามแบบของปฏิจจสมุปบาท
อายตนะยังไม่ทำหน้าที่ปัญจุปาทานขันธ์ ก็ยังไม่เกิด
ปัญจุปาทานขันธ์เพิ่งจะมีเมื่อเกิดเวทนาในปฏิจจสมุปบาท
การเกิดแห่งโลก คือการเกิดแห่งปฏิจจสมุปบาท
ทุกข์เกิดเพราะเห็นอุปาทานิยธรรมโดยความเป็นอัสสทะ
ทุกข์เกิด เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอัสสาทะ
แดนเกิดดับแห่งทุกข์-โรค-ชรามรณะ(สูตรที่หนึ่ง : อายตนะภายใน หก)
การดับแห่งโลก คือการดับแห่งปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท (นิโรธวาร)ที่ตรัสอย่างเข้าใจง่ายที่สุด
ทุกข์ดับ เพราะเห็นอุปาทานิยธรรมโดยความเป็นอาทีนวะ
ทุกข์ดับ เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอาทีนวะ

[/color]หมวด ๖
[/color]กฎอิทัปปัจจยตา : หัวในปฏิจจสมุปบาท.
ลำดับเรื่องเฉพาะหมวด
ตรัสว่า เรื่องปฏิจจสมุปบาทเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาทยังมีหน้าที่ ต้องทำการศึกษา
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาทยังมีหน้าที่ ต้องบำเพ็ญโยคะ
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาทยังมีหน้าที่ ต้องประกอบฉันทะ
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาทยังมีหน้าที่ ต้องบำเพ็ญอุสโสฬ์ห*
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาทยังมีหน้าที่ ต้องบำเพ็ญอัปปฏิวานี
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาทยังมีหน้าที่ ต้องประกอบความเพียรแผดเผากิเลส
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาทยังมีหน้าที่ ต้องประกอบวิริยะ
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาทยังมีหน้าที่ ต้องประกอบการกระทำอันติดต่อ
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาทยังมีหน้าที่ ต้องอบรมสติ
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาทยังมีหน้าที่ ต้องอบรมสัมปชัญญะ
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาทยังมีหน้าที่ ต้องบำเพ็ญความไม่ประมาท
ทรงมุ่งหมายให้ปฏิจจสมุปบาทเป็นเรื่องการปฏิบัติ(มิใช่เป็นเพียงทฤษฎี)
การหลีกเร้นทำให้ง่ายแก่การรู้ปฏิจจสมุปบาท
การคิดค้นปฏิจจสมุปบาทก็คือการเดินตามอริยัฏฐังคิกมรรค
ปฏิบัติเพื่อการดับปฏิจจสมุปบาทชื่อว่าปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
องค์ประกอบที่เป็นบุพพภาคของการดับแห่งปฏิจจสมุปบาท
ผัสสะ คือนิทานสัมภวะส่วนมากของนิพเพธิกธรรม
ปฏิจจสมุปบาทแห่งการกำจัดอุปสรรคขณะเจริญสติปัฏฐาน
ปฏิจจสมุปบาท เพื่อ สามัญญผลในปัจจุบัน(๗ ประการ : อรหันต์ ๒, อนาคามี ๕)
ปฏิจจสมุปบาท เป็นสิ่งที่ต้องเห็นด้วยยถาภูตสัมมัปปัญญาแม้ที่ยังเป็นเสขะเป็นอย่างน้อย
แม้การทำความเพียรในที่สงัดก็ยังต้องปรารภขันธ์ห้า ตามวิธีการของปฏิจจสมุปบาท
ต้นเงื่อนของปฏิจจสมุปบาทละได้ด้วยการเห็นธรรมทั้งปวงว่าไม่ควรยึดมั่น
ต้นเงื่อน แห่งปฏิจจสมุปบาทละได้ด้วยการเห็นอนิจจัง
อาการแห่งอนิจจัง โดยละเอียด
เคล็ดลับในการปิดกั้นทางเกิดแห่งปฏิจจสมุปบาท
การพิจารณาปัจจัยในภายในคือการพิจารณาปฏิจจสมุปบาท
ธรรมปฏิบัติในรูปของปฏิจจสมุปบาทแห่งการละองค์สามตามลำดับ

[/color]วิธีปฏิบัติต่ออาหารที่สี่ในลักษณะที่เป็นปฏิจจสมุปบาท
ก. ว่าด้วยลักษณะอาหารสี่ โดยอุปมา
ข. ว่าด้วยอาการเกิดดับแห่งอาหารสี่
ปัญจุปาทานขันธ์ไม่อาจจะเกิดเมื่อรู้เท่าทันเวทนาในปฎิจจสมุปบาท
การพิจารณาสภาวธรรมตามวิธีปฎิจจสมุปบาทกระทั่งวาระสุดท้าย
อนุสัยไม่อาจจะเกิดเมื่อรู้เท่าทันเวทนา ในปฏิจจสมุปบาท
ปฎิจจสมุปบาทสลายตัว เมื่อรู้แจ้งธรรมห้า อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน
ญาณวัตถุ ๔๔ ในปฏิจจสมุปบาทเพื่อความเป็นโสดาบัน
ญาณวัตถุ ๗๗ ในปฏิจจสมุปบาทเพื่อความเป็นโสดาบัน
การรู้ปฏิจจสมุปบาทไม่เกี่ยวกับการบรรลุอภิญญาเลยก็ได้
ปฏิจจสมุปบาทรอบสุดท้ายของคนเรา

[/color]หมวด ๗
[/color]กฏอิทัปปัจจยตาหัวใจปฏิจจสมุปบาท.
ลำดับเรื่องเฉพาะหมวดที่ ๗
จิตสัตว์ยุ่งเป็นปมเพราะไม่เห็นแจ้งปฏิจจสมุปบาท
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท โดยอาการแห่งอริยสัจสี่ไม่สามารถก้าวล่วงปฏิจจสมุปปันนธรรม
สำหรับผู้ที่ไม่สามารถเข้าใจปฏิจจสมุปบาท
ทิฏฐิและการหยั่งลงแห่งทิฏฐิเนื่องมาจากการยึดซึ่งขันธ์ทั้งห้า
ไม่ควบคุมรากฐานแห่งปฏิจจสมุปบาทจึงเกิดทุกข์
คนพาลกับบัณฑิตต่างกันโดยหลักปฏิจจสมุปบาท
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้ปฏิจจสมุปบาทโดยนัยสี่
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้ชรามรณะโดยนัยสี่
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้ชาติโดยนัยสี่
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้ภพโดยนัยสี่
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้อุปาทานโดยนัยสี่
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้ตัณหาโดยนัยสี่
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้เวทนาโดยนัยสี่
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้ผัสสะโดยนัยสี่
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้สฬายตนะโดยนัยสี่
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้นามรูปโดยนัยสี่
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้วิญญาณโดยนัยสี่
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้สังขารโดยนัยสี่
ควบคุมรากฐานแห่งปฏิจจสมุปบาทจึงเกิดสุข
ปฏิจจสมุปบาทอาการหนึ่ง (นันทิให้เกิดทุกข์)ถ้าเห็นแล้วทำให้หยุดความมั่นหมายในสิ่งทั้งปวง
พอรู้ปฏิจจสมุปบาท ก็หายตาบอดอย่างกระทันหัน
เพราะรู้ปฏิจจสมุปบาทจึงหมดความสงสัยเรื่องตัวตนทั้ง ๓ กาล
การรู้เรื่องปฏิจจสมุปบาททำให้หมดปัญหาเกี่ยวกับขันธ์ในอดีตและอนาคต
ผลอานิสงส์ พิเศษ ๘ ประการของการเห็นปฏิจจสมุปบาท
ผู้รู้ปฏิจจสมุปบาท โดยอาการแห่งอริยสัจทั้งสี่ย่อมสามารถก้าวล่วงปฏิจจสมุปปันนธรรม
ผู้รู้ปฏิจจสมุปบาท โดยอาการแห่งอริยสัจทั้งสี่ย่อมสามารถก้าวล่วงปฏิจจสมุปปันนธรรม
อานิสงส์ ของการถึงพร้อมด้วยทัสสนทิฏฐิสูตรที่ หนึ่ง
อานิสงส์ ของการถึงพร้อมด้วยทัสสนทิฏฐิสูตรที่ สอง
อานิสงส์ ของการถึงพร้อมด้วยทัสสนทิฏฐิสูตรที่ สาม
อานิสงส์ ของการถึงพร้อมด้วยทัสสนทิฏฐิสูตรที่ สี่
อานิสงส์ ของการถึงพร้อมด้วยทัสสนทิฏฐิสูตรที่ห้า
อานิสงส์ ของการถึงพร้อมด้วยทัสสนทิฏฐิสูตรที่หก
อานิสงส์ ของการถึงพร้อมด้วยทัสสนทิฏฐิสูตรที่เจ็ด
อานิสงส์ ของการถึงพร้อมด้วยทัสสนทิฏฐิสูตรที่แปด
อานิสงส์ ของการถึงพร้อมด้วยทัสสนทิฏฐิสูตรที่เก้า
อานิสงส์ ของการถึงพร้อมด้วยทัสสนทิฏฐิสูตรที่สิบ
ผู้เสร็จกิจในปฏิจจสมุปบาทชื่อว่าผู้บรรลุนิพพานในปัจจุบัน
อานิสงส์สูงสุด (อนุปาทิเสสนิพพาน)ของการพิจารณาปฏิจจสมุปบาทอย่างถูกวิธี
อุปปริกขีในปฏิจจสมุปบาท เป็นอุดมบุรุษ
บัณฑิต คือผู้ฉลาดในปฏิจจสมุปบาท

[/color]หมวด ๘
[/color]กฎอิทัปปัจจยตา : หัวในปฏิจจสมุปบาท.
ลำดับเรื่องเฉพาะหมวด
ทรงเดินตามรอย แห่งพระพุทธเจ้าองค์ก่อนๆ(ในกรณีของการค้นเรื่องปฏิจจสมุปบาท)
การคิดค้นปฏิจจสมุปบาท ก่อนการตรัสรู้
การคิดค้นปฏิจจสมุปบาทของพระพุทธเจ้าในอดีต ๖ พระองค์
ทรงบันลือสีหนาทเพราะทรงรู้ปัจจัยแห่งความเกิดและความดับ
ทรงพยากรณ์แต่อริยญายธรรมเท่านั้น
ทรงชักชวนวิงวอนเหลือประมาณในความเพียรเพื่อกิจเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท
ทรงแสดงธรรมเนื่องด้วยปฏิจจสมุปบาทมีความงามเบื้องต้น - ท่ามกลาง - เบื้องปลาย
ศาสดาและสาวกย่อมมีการกล่าวตรงกันในเรื่องปฏิจจสมุปบาท

[/color]หมวด ๙
[/color]กฎอิทัปปัจจยตา : หัวในปฏิจจสมุปบาท.
ลำดับเรื่องเฉพาะหมวด ๙
ทรงกำชับสาวกให้เล่าเรียนปฏิจจสมุปบาท
ไม่รู้เรื่องรากฐานแห่งปฏิจจสมุปบาทก็ยังไม่ใช่สาวกในศาสนานี้
อริยสาวก ย่อมรู้ปฏิจจสมุปบาทโดยไม่ต้องเชื่อผู้อื่น
อริยญายธรรมคือการรู้เรื่องปฏิจจสมุปบาท
การสนทนาของพระมหาสาวก(เรื่องปฏิจจสมุปบาท)
เวทนาของปุถุชน ต่างจากของอริยสาวก(ในแง่ของปฏิจจสมุปบาท)
อริยสาวกรู้ความเกิดและความดับของโลกอย่างไม่มีที่สงสัย
พระโสดาบัน คือผู้เห็นชัดปฏิจจสมุปบาทโดยวิธีแห่งอริยสัจสี่
โสตาปัตติยังคะขึ้นอยู่กับการรู้ปฏิจจสมุปบาทของอริยสาวก
สามัญญผลในพุทธศาสนาเทียบกันไม่ได้ กับในลัทธิอื่น

[/color]หมวด ๑๐
[/color]กฎอิทัปปัจจยตา : หัวในปฏิจจสมุปบาท.
ลำดับเรื่องเฉพาะหมวด ๑๐
ปฏิจจสมุปบาท ที่ซ้อนอยู่ในปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาทที่ตรัสโดยพระพุทธเจ้าวิปัสสี(สุดลงเพียงแค่วิญญาณ)
ปฏิจจสมุปบาทแบบที่ตรัสเหมือนแบบของพระพุทธเจ้าวิปัสส( สุดลงเพียงแค่วิญญาณ )
ปฏิจจสมุปบาทแบบที่ตั้งต้นด้วย อารัมมณเจตน - ปกัปปน - อนุสยะ
ปฏิจจสมุปบาท (สมุทยวาร)ที่ตรัสอย่างย่อที่สุด
ปฏิจจสมุปบาท (ทั้งสมุทยะและนิโรธวาร)ที่ตรัสอย่างสั้นที่สุด
ปฏิจจสมุปบาทแห่งอาหารสี่
ปฏิจจสมุปบาทแห่งอาหารสี่เพื่อภูตสัตว์ และ สัมภเวสีสัตว์
ปฏิจจสมุปบาท แห่ง อภัททกาลกิริยา(ตายชั่ว)
ปฏิจจสมุปบาท แห่งทุพพลภาวะ ของมนุษย์
ปฏิจจสมุปบาท แห่ง มิคสัญญีสัตถันตรกัปป์
ปฏิจจสมุปบาทแห่งอารัมมณลาภนานัตตะ(การได้อารมณ์ หก)
ปฏิจจสมุปบาท แห่งการปฏิบัติผิดโดยไตรทวาร
ปฏิจจสมุปบาท แห่งกามปฏิบัติชอบโดยไตรทวาร
ปฏิจจสมุปบาท แห่ง การรบราฆ่าฟันกัน(ซึ่งน่าอัศจรรย์)
ปฏิจจสมุปบาท แห่งกลวิวาทนิโรธ
ปฏิจจสมุปบาท แห่งการอยู่อย่างมี \\
ปฏิจจสมุปบาท แห่งการอยู่อย่างมี \\
ปฏิจจสมุปบาท แห่ง การอยู่ด้วยความประมาท
ปฏิจจสมุปบาท แห่ง ปปัญจสัญญาสังขาสมุทาจรณะ
ปฏิจจสมุปบาทแห่งปปัญจสัญญาอันทำความเนิ่นช้า แก่การละอนุสัย
ปฏิจจสมุปบาท แห่ง การดับปปัญจสัญญาสังขา

[/color]หมวด ๑๑
สัมมาทิฏฐิ คือทิฏฐิที่ปราศจากอัตถิตาและนัตถิตา
ปฏิจจสมุปบาท มีหลักว่า ไม่มีตนเอง ไม่มีผู้อื่น ที่ก่อทุกข์
แม้ทุกข์ในลัทธิทั้งหลายอื่น ก็มีผัสสะเป็นจุดตั้งต้น
พวกกัมมวาทีทุกพวก กับหลักปฏิจจสมุปบาท
เงื่อนงำที่อาจนำไปสู่สัสสตทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิ ในอาการหนึ่ง ๆ ของปฏิจจสมุปบาท
โลกายตะ ๔ ชนิด ที่ทรงปฏิเสธ
ทิฏฐิชั้นหัวหน้า ๑๘ อย่าง ล้วนแต่ปรารภธรรมที่เป็นฐานะ ๖ อย่าง
[ทิฏฐิที่ ๑ : เอสิกัฏฐายิฏฐิตสัสสตทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๒ : อัตตา - อัตตนิยานุทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๓ : สัสสตทิฏฐิ (ทั่วไป)]
[ทิฏฐิที่ ๔ อุจเฉททิฏฐิ(ทั่วไป)]
[ทิฏฐิที่ ๕ : นัตถิกทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๖ : อกิริยทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๗ : อเหตุกทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๘ : สัตตกายทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๙ : สัสสตโลกทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๑๐ : อสัสสตโลกทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๑๑ : อันตวันตโลกทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๑๒ : อนันตวันตโลกทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๑๓ : ตังชีวตังสรีรทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๑๔ : อัญญังชีวอัญญังสรีรทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๑๕ : โหติตถาคโตทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๑๖ : นโหติตถาคโตทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๑๗ : โหติจนจโหติทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๑๘ : เนวโหตินนโหติทิฏฐิ]
ทิฏฐิ ๒๖ อย่าง ล้วนแต่ปรารภขันธ์ห้า
[ทิฏฐิที่ ๑ : เอสิกัฏฐายิฏฐิตทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๒ : อัตตา - อัตตนิยานุทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๓ สัสสตทิฏฐิ (ทั่วไป)]
[ทิฏฐิที่ ๔ อุจเฉททิฏฐิ (ทั่วไป)]
[ทิฏฐิที่ ๕ นัตถิกทิฏฐิ (ทั่วไป)๔]
[ทิฏฐิที่ ๖ อกิริยทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๗ : อเหตุกทิฏฐิ]
[ทิฏฐิที่ ๘ : สัตตกายทิฏฐิ]
[/b]
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันศุกร์ที่ 02 กันยายน 2011 เวลา 22:39 น. โดย popja »
สู้สู้

ออฟไลน์ popja

  • Administrator
  • จอมพลัง
  • *****
  • กระทู้: 871
  • น้องวินลูกพ่อป๊อปแม่โบว์
    • แบ่งปันความรู้โรคลมชัก
Re: มาบอกบุญร่วมจัดทำหนังสือพระไตรปิฎก
« ตอบกลับ #12 เมื่อ: วันศุกร์ที่ 02 กันยายน 2011 เวลา 09:38 น. »
วันนี้ได้รับเงินโอนเพิ่มเติมอีกครับ ไม่ทราบว่าสมาชิกท่านไหนได้โอนเข้ามาครับ
รบกวนช่วยแจ้งวันเวลาและจำนวนเงินโอนด้วยครับ จะได้ไม่ผิดคนหนะครับ
ขอบคุณมากๆครับ อนุโมทนาบุญด้วยครับสาธุ
สู้สู้

ออฟไลน์ แม่น้องเมย์

  • Meeting2
  • Jr. Member
  • *
  • กระทู้: 32
Re: มาบอกบุญร่วมจัดทำหนังสือพระไตรปิฎก
« ตอบกลับ #13 เมื่อ: วันศุกร์ที่ 02 กันยายน 2011 เวลา 09:41 น. »
คุณป๊อบโอนเงินให้แล้วนะค่ะเมื่อเช้านี้ต้องขอโทษด้วยเมื่อวานออกไปโอนให้ไม่ได้ฝนตกหนัก

ออฟไลน์ popja

  • Administrator
  • จอมพลัง
  • *****
  • กระทู้: 871
  • น้องวินลูกพ่อป๊อปแม่โบว์
    • แบ่งปันความรู้โรคลมชัก
Re: มาบอกบุญร่วมจัดทำหนังสือพระไตรปิฎก
« ตอบกลับ #14 เมื่อ: วันศุกร์ที่ 02 กันยายน 2011 เวลา 09:46 น. »
คุณป๊อบโอนเงินให้แล้วนะค่ะเมื่อเช้านี้ต้องขอโทษด้วยเมื่อวานออกไปโอนให้ไม่ได้ฝนตกหนัก

อนุโมทนาบุญด้วยครับคุณแม่น้องเมย์
ได้รับตอนเช้า 2/9/2554 จำนวน 500 บาทครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันอังคารที่ 06 กันยายน 2011 เวลา 00:19 น. โดย popja »
สู้สู้

 


Powered by EzPortal