แบ่งปันความรู้โรคลมชัก

สนทนาได้ความรู้ => ห้องนั่งเล่น => ธรรมะน่ารู้ => ข้อความที่เริ่มโดย: Thanks-Epi ที่ วันศุกร์ที่ 11 กันยายน 2015 เวลา 11:26 น.

หัวข้อ: รู้ไหมว่าระหว่างสวดมนต์ กับนั่งสมาธิ ได้ผลดีต่างกันอย่างไร
เริ่มหัวข้อโดย: Thanks-Epi ที่ วันศุกร์ที่ 11 กันยายน 2015 เวลา 11:26 น.
http://www.kalyanamitra.org/th/article_detail.php?i=5775
(http://www.uppic.org/image-3867_55F257A8.jpg) (http://www.uppic.org/share-3867_55F257A8.html)

รู้ไหมว่าระหว่างสวดมนต์ กับนั่งสมาธิ
 ได้ผลดีต่างกันอย่างไร



: ผลการวิจัยออกมาแล้วโดย K. Kijsarun Chanpo
ได้ทำการทดลองกับนิสิตจุฬาฯ จำนวน 60 คน
 โดยให้สวดมนต์ 30 คน และทำสมาธิ 30 คน
 ชาย-หญิงอย่างละ15 คน
 และทำการวัดคลื่นสมองทีละคน
 ในขณะสวดมนต์ 30 นาที และผู้ทำสมาธิ 30 นาที

 บันทึกการทำงานของสมองตลอดระยะเวลา30 นาที
 ผลปรากฎว่าทั้ง 30 คนในการสวดมนต์ทีละคนได้ผลเหมือนกันคือ
: นาทีที่ 0-5 นาทีแรก จิตยังซัดส่าย
: พอนาทีที่ 5-10,10-15,15-20,20-25,25-30
คลื่นสมองจะบอกถึงการดิ่งของจิตที่สงบ
 จนจบต่อเนื่องถึงหลังการทดลองอีกระยะหนึ่ง.

ส่วนการทำสมาธิจะได้ผลดีที่สุดอยู่ที่ นาทีที่ 0-5
 : พอเข้านาทีที่ 5-10,10-15,15-20...จนจบการทดลอง
 จิตจะซัดส่าย คลื่นสมองจะไม่นิ่ง อันเนื่องจากมีนิวรณ์ 5
เข้ามาเป็นเครื่องกั้นการทำงานของจิตต่อการทำสมาธิ
: ดังนั้นจิตที่ยังมีนิวรณ์ 5 อยู่เช่นนี้
 ย่อมจะไม่สามารถเป็นสมาธิได้
 ต้องฝึกเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอจะสามารถกำจัดนิวรณ์ได้.

ซึ่งการทดลองนี้สอดคล้องกับ
 มาตรฐานสัญญาณคลื่นสมองอัลฟ่าผ่อนคลายเมื่อหลับตาลง
 ซึ่งเป็นช่วงที่ดีที่สุดในระยะแรก

 ฉะนั้นทำให้เรารู้ว่าการสวดมนต์ก่อนทำสมาธิจำเป็นอย่างยิ่ง
 เพราะจิตเราจะจดจ่อกับบทสวดมนต์อยู่ตลอดเวลา
 ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของคลื่นสมองอัลฟ่าเกิดขึ้น
 และคงอยู่ได้อย่างต่อเนื่องจนหลังการทดลองอีก 5 นาที.
ซึ่งจะเป็นช่วงที่เข้าสู่การทำสมาธิได้อย่างต่อเนื่อง
 เมื่อฝึกบ่อยๆนิวรณ์5 ก็จะหมดไป

 ร่วมกันอนุโมทนาบุญกับผลงานวิจัยครั้งนี้
 ซึ่งสามารถแนะนำคนที่ยังไม่เคยทำ ได้ทดลองปฏิบัติดู.
หัวข้อ: Re: รู้ไหมว่าระหว่างสวดมนต์ กับนั่งสมาธิ ได้ผลดีต่างกันอย่างไร
เริ่มหัวข้อโดย: Thanks-Epi ที่ วันศุกร์ที่ 11 กันยายน 2015 เวลา 11:32 น.
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์   

http://www.slideshare.net/gamlungjai/ss-13564803  (คลิป)

8.  การทาสมาธิมีผลกับคลื่นสมองอย่างไร สาหรับการใช้เครื่อง Electroencephalograms (EEG) วัดระดับคลื่นสมองของมนุษย์นั้น สามารถแบ่งระดับของคลื่นสมองของมนุษย์ได้ 4 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้
 
1. เบต้า (Beta) มีจังหวะรวดเร็วไม่สม่าเสมอ บอกถึงความสับสนวุ่นวายทางความคิด เป็น สภาวะของคนปกติทั่วไป

2. แอลฟา (Alpha) โค้งเป็นคลื่น มีขนาดใหญ่ กว่า มีจังหวะช้ากว่า และมีพลังงานมากกว่า คลื่นเบต้า บอกถึงความสงบนิ่ง และมีสมาธิ ผู้ที่ มีจิตใจสงบเยือกเย็นหรือผู้ที่เริ่มทาการฝึก สมาธิจะมีคลื่นสมองลักษณะเช่นนี้เกิดขึ้น มี ความคิดสร้างสรรค์ เป็นสภาวะที่จิตมี ประสิทธิภาพสูง

3. เธต้า (Theta) เมื่อคลื่นแอลฟามีจังหวะช้าลงและมีพลังงานสูงขึ้น สมองจะส่งเป็นคลื่นเธต้าออกมาแต่จะเป็นเพียงช่วงสั้นๆ เท่านั้น สมองมักจะปรากฏคลื่นนี้เมื่อร่างกายอยู่ในภาวะครึ่งหลับครึ่งตื่น และอาจเกิดได้บ่อยขึ้นเมื่อมีการฝึกจิตสูงขึ้น

4. เดลต้า (Delta) เป็นคลื่นสมองที่เกิดขึ้นขณะนอนหลับลึก มีความถี่ต่าสุดแต่มีพลังงานสูง มีลักษณะนิ่งเป็นเส้นตรง และเป็นประโยชน์ต่อส่วนความจาของสมองมาก หากฝึกสมาธิขั้นสูง มีจตใจสงบ ความคิดไม่วนวายก็จะมีโอกาสเกิดคลื่นชนิดนี้ได้ ิ ุ่มากกว่าคนอื่น