เชิญร่วมงาน รวมพลังสายใย...เสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้ป่วยลมชัก วันจันทร์ที่ 21 พ.ย.62 เวลา 9.00-15.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 5 รพ.พระมงกุฎเกล้า

เชิญร่วมงาน รวมพลังสายใย...เสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้ป่วยลมชัก วันจันทร์ที่ 21 พ.ย.62 เวลา 9.00-15.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 5 รพ.พระมงกุฎเกล้า 

 

ผู้เขียน หัวข้อ: พ่อแม่ลูก ควรรู้  (อ่าน 1402 ครั้ง)

ออฟไลน์ yut.sin1301

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 1
พ่อแม่ลูก ควรรู้
« เมื่อ: วันอาทิตย์ที่ 19 พฤศจิกายน 2017 เวลา 18:15 น. »
พ่อแม่บางคนมองว่าบทบาทพ่อแม่นั้นต้องแสดงอย่างเข้มข้นจริงจัง เพื่อให้ลูก ๆ เคารพ ยอมรับนับถือ หากพ่อแม่คิดเช่นนี้ การเกิดเหตุการณ์มาคุอาจเกิดขึ้นได้บ่อย ๆ ภายในครอบครัว เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการควบคุมสถานการณ์ต่าง ๆ พฤติกรรมเช่นนี้ อาจทำให้เด็ก ๆ ขาดพื้นที่ในการแสดงความเป็นตัวตนของเขา พ่อแม่ที่เข้มงวด และจำกัดการแสดงออกจะทำให้เด็กต้องไปหาพื้นที่อื่นในการเปิดเผยตัวตนของเขา กลุ่มเพื่อน หรือโลกอินเทอร์เน็ต ยิ่งการที่พ่อแม่ไปกำหนดกฎเกณฑ์ให้ลูกเป็นไปไหนแบบอย่างที่ตนเองต้องการมากขึ้นเท่าไหร่ ยิ่งทำให้เด็ก ๆ ตกอยู่ในภาวะเสี่ยงมากขึ้น เด็กอาจมีพฤติกรรมเก็บกด หรือ การต่อต้านมีพฤติกรรมที่ก้าวร้าว รุนแรงขึ้น

ใช้การคุยให้เป็นประโยชน์
การคุยที่สร้างสรรค์กับลูกช่วงวัยรุ่นไม่ใช่การเปิดฉากเล่า ประสบการณ์ของพ่อแม่เพียงฝ่ายเดียว แต่ควรเป็นการตั้งคำถามเพื่อเปิดโอกาสให้ลูกได้แสดงความคิดเห็นในประเด็นต่าง ๆ เช่น ยาเสพติด ความรักกับเพื่อนต่างเพศ ฯลฯ

ระวังประโยคชวนฟิวส์ขาด

ในกรณีที่ความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ลูกเริ่มมีปัญหา การเอ่ยประโยคชวนฟิวส์ขาด เช่น ?ตอนที่พ่อแม่อายุเท่าลูกเนี่ยนะ?? มีโอกาสทำให้สถานการณ์บานปลายมากยิ่งขึ้นได้ ไม่ใช่ว่าประสบการณ์ในอดีตของพ่อแม่เป็นสิ่งที่ไม่มีคุณค่า แต่การนำเรื่องราวในอดีตที่คุณคิดว่าดีสำหรับคุณมาเปรียบเทียบกับพฤติกรรมของลูกในช่วงวัยรุ่นเป็นสิ่งที่อันตรายมาก และสามารถสร้างรอยร้าวลึกในหัวใจเด็ก ๆ โดยไม่ได้ตั้งใจได้หากพ่อแม่ใช้อย่างไม่ระวัง ในจุดนี้พึงเข้าใจด้วยว่า สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในตอนที่พ่อแม่ยังเด็ก ๆ กับ ณ เวลาปัจจุบันมันเปลี่ยนไปหมดแล้ว เด็กสมัยนี้มีอินเทอร์เน็ต มีคอมพิวเตอร์ มีโทรศัพท์มือถือ มีเพื่อนใน facebook มี line wechat youtube เพลงที่ลูกฟังในปัจจุบันก็อาจไม่เหมือนกับเพลงที่พ่อแม่ฟังในช่วงอายุเดียวกันอย่างสิ้นเชิง ซึ่งการจะคุยกันให้เข้าใจได้นั้นก็เป็นหน้าที่ของพ่อแม่ที่ต้องตระหนักรู้ให้ได้ว่า ในช่วงอายุของลูกนั้นเขาจะได้พบกับอะไรบ้างในกระแสปัจจุบันของเค้า

อดทนและมีเมตตาเข้าไว้


ไม่ว่าจะเจอปัญหาที่ยุ่งยากเพียงใด หรือว่าคุณจะอยากตีลูกตัวดีเท่าไหร่ แต่คนเป็นพ่อแม่ก็ต้องใจเย็นเข้าไว้ เพราะการที่พ่อแม่ ?หลุด? นั่นหมายถึงคุณพร้อมที่จะรับกับสถานการ์ณที่แรวร้ายยิ่งขึ้น การลงโทษโดยใช้อารมณ์ หรือ ถ้อยคำรุนแรง ไม่ใช่วิธีการแก้ปัญหาที่ถูกต้องเลย ทางแก้คือ หากสถานการณ์เข้าขั้นวิกฤต อาจเดินหนีไปอยู่คนละห้อง หาเวลาอยู่เงียบ ๆ สักพัก หายใจเข้าออกยาว ๆ สงบสติอารมณ์ ไปอาบน้ำ ไปทำกับข้าว ก่อนจนอารมณ์ดีค่อยกลับมาคุยกันใหม่

ฟังลูกบ้าง
คุณพ่อคุณแม่บางคนอาจต้องยอมรับว่า อาจมีบางครั้งที่คุณฟังลูกเพียงผ่าน ๆ ไม่ได้ใส่ใจอะไรกับเรื่องราวของเขามากนัก และเด็กบางคนก็มีปัญหาตรงที่ว่าเขาไม่สามารถจะบอกเล่าเรื่องราวได้อย่างที่ใจเขาต้องการ เพราะฉะนั้น การพูดและการคุยระหว่างผู้ใหญ่กับเด็ก (ในร่างผู้ใหญ่) ก็จำเป็นต้องใช้ใจร่วมด้วย พยายามเข้าใจในสิ่งที่ลูกพยายามจะสื่อ เพราะการรับฟังปัญหาของลูกถือเป็นอีกหนึ่งของขวัญที่ยิ่งใหญ่ที่คนเป็นพ่อแม่ทุกคนสามารถมอบให้กับลูกได้

อย่ายอมแพ้
บางครั้งการปะทะคารมกับลูกวัยรุ่นที่กำลังหลงผิดในกับสิ่งยั่วยุต่าง ๆ อาจทำให้พ่อแม่รู้สึกว่าเหนื่อยเหลือเกิน ปล่อยๆไปซะเลยดีมั๊ย แต่มันจะไม่ใช่เรื่องดีเลย หากพ่อแม่ยอมแพ้และปล่อยให้ลูกเดินต่อไปในทางที่มืด และเลวลงเรื่อย ๆ เพราะฉะนั้น พ่อแม่ที่ดีไม่ควรล้มเลิกความตั้งใจที่จะสั่งสอนลูกและชี้แนวทางตั้งมั่นลูก ๆ ไปในทิศทางทางที่ถูกต้อง

ลงโทษเมื่อไร
หากพบว่าลูกกระทำเรื่องที่ผิดกฎหมาย หรือผิดศีลธรรม พ่อแม่มีสิทธิทุกประการที่จะยับยั้ง และทำให้มันยุติลงให้ได้ อย่ากลัวหากจะต้องลงโทษลูกของตัวเองให้เขาสำนึกในความผิดนั้น ๆ หรือหากจำเป็นก็ควรขอความช่วยเหลือจากนักจิตวิทยา แพทย์ หรือผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ

ยืดหยุ่น
เพราะแนวทางในการดูแลลูกวัยรุ่นให้อยู่กับร่องกับรอยก็คือการให้เขาได้มีสิทธิเลือก ได้แสดงความคิดเห็น ดังนั้นพ่อแม่อาจต้องยืดหยุ่นต่อกฎต่าง ๆ มากขึ้น ปรับเทคนิคการพูดให้เหมาะสม เพื่อให้พ่อแม่ยังคงเป็นพ่อแม่ที่น่ารักของลูก ๆ วัยรุ่นอยู่ได้ เช่น หากพ่อแม่ต้องการให้เด็ก ๆ ช่วยไปทิ้งขยะ (โดยที่ลูก ๆ ไม่ค่อยอยากช่วยเท่าไร) คงไม่ดีแน่หากจะใช้การออกคำสั่งเสียงเขียวว่า ?เอาขยะไปทิ้งเดี๋ยวนี้นะ? แต่หากลองใช้ประโยคที่ว่า ?วันนี้ตาลูกไปทิ้งขยะแล้ว จะไปทิ้งขยะตอนนี้หรือจะไปหลังจากทานข้าวเสร็จ? หรือ "ลูกช่วยแม่ไปทิ้งขยะได้มั๊ยจ๊ะ เดี๋ยวแม่ต้องล้างจานซักผ้าอีก" ลูกฟังจบเขาจะพบว่ามีทางให้เขาเลือก และเขาก็จะเลือกทางที่เขาต้องการ ในกรณีหลัง ลูกอาจรู้สึกยินดีและภูมิใจที่ได้แบ่งเบาภาระของพ่อแม่ได้
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันเสาร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2018 เวลา 16:24 น. โดย NONG »

ออฟไลน์ prohero

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 1
Re: พ่อแม่ลูก ควรรู้
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: วันศุกร์ที่ 18 พฤษภาคม 2018 เวลา 11:29 น. »
พ่อแม่บางคนมองว่าบทบาทพ่อแม่นั้นต้องแสดงอย่างเข้มข้นจริงจัง เพื่อให้ลูก ๆ เคารพ ยอมรับนับถือ หากพ่อแม่คิดเช่นนี้ การเกิดเหตุการณ์มาคุอาจเกิดขึ้นได้บ่อย ๆ ภายในครอบครัว เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการควบคุมสถานการณ์ต่าง ๆ พฤติกรรมเช่นนี้ อาจทำให้เด็ก ๆ ขาดพื้นที่ในการแสดงความเป็นตัวตนของเขา พ่อแม่ที่เข้มงวด และจำกัดการแสดงออกจะทำให้เด็กต้องไปหาพื้นที่อื่นในการเปิดเผยตัวตนของเขา กลุ่มเพื่อน หรือโลกอินเทอร์เน็ต ยิ่งการที่พ่อแม่ไปกำหนดกฎเกณฑ์ให้ลูกเป็นไปไหนแบบอย่างที่ตนเองต้องการมากขึ้นเท่าไหร่ ยิ่งทำให้เด็ก ๆ ตกอยู่ในภาวะเสี่ยงมากขึ้น เด็กอาจมีพฤติกรรมเก็บกด หรือ การต่อต้านมีพฤติกรรมที่ก้าวร้าว รุนแรงขึ้น

ใช้การคุยให้เป็นประโยชน์ 928bet
การคุยที่สร้างสรรค์กับลูกช่วงวัยรุ่นไม่ใช่การเปิดฉากเล่า ประสบการณ์ของพ่อแม่เพียงฝ่ายเดียว แต่ควรเป็นการตั้งคำถามเพื่อเปิดโอกาสให้ลูกได้แสดงความคิดเห็นในประเด็นต่าง ๆ เช่น ยาเสพติด ความรักกับเพื่อนต่างเพศ ฯลฯ

ระวังประโยคชวนฟิวส์ขาด

ในกรณีที่ความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ลูกเริ่มมีปัญหา การเอ่ยประโยคชวนฟิวส์ขาด เช่น ?ตอนที่พ่อแม่อายุเท่าลูกเนี่ยนะ?? มีโอกาสทำให้สถานการณ์บานปลายมากยิ่งขึ้นได้ ไม่ใช่ว่าประสบการณ์ในอดีตของพ่อแม่เป็นสิ่งที่ไม่มีคุณค่า แต่การนำเรื่องราวในอดีตที่คุณคิดว่าดีสำหรับคุณมาเปรียบเทียบกับพฤติกรรมของลูกในช่วงวัยรุ่นเป็นสิ่งที่อันตรายมาก และสามารถสร้างรอยร้าวลึกในหัวใจเด็ก ๆ โดยไม่ได้ตั้งใจได้หากพ่อแม่ใช้อย่างไม่ระวัง ในจุดนี้พึงเข้าใจด้วยว่า สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในตอนที่พ่อแม่ยังเด็ก ๆ กับ ณ เวลาปัจจุบันมันเปลี่ยนไปหมดแล้ว เด็กสมัยนี้มีอินเทอร์เน็ต มีคอมพิวเตอร์ มีโทรศัพท์มือถือ มีเพื่อนใน facebook มี line wechat youtube เพลงที่ลูกฟังในปัจจุบันก็อาจไม่เหมือนกับเพลงที่พ่อแม่ฟังในช่วงอายุเดียวกันอย่างสิ้นเชิง ซึ่งการจะคุยกันให้เข้าใจได้นั้นก็เป็นหน้าที่ของพ่อแม่ที่ต้องตระหนักรู้ให้ได้ว่า ในช่วงอายุของลูกนั้นเขาจะได้พบกับอะไรบ้างในกระแสปัจจุบันของเค้า

อดทนและมีเมตตาเข้าไว้


ไม่ว่าจะเจอปัญหาที่ยุ่งยากเพียงใด หรือว่าคุณจะอยากตีลูกตัวดีเท่าไหร่ แต่คนเป็นพ่อแม่ก็ต้องใจเย็นเข้าไว้ เพราะการที่พ่อแม่ ?หลุด? นั่นหมายถึงคุณพร้อมที่จะรับกับสถานการ์ณที่แรวร้ายยิ่งขึ้น การลงโทษโดยใช้อารมณ์ หรือ ถ้อยคำรุนแรง ไม่ใช่วิธีการแก้ปัญหาที่ถูกต้องเลย ทางแก้คือ หากสถานการณ์เข้าขั้นวิกฤต อาจเดินหนีไปอยู่คนละห้อง หาเวลาอยู่เงียบ ๆ สักพัก หายใจเข้าออกยาว ๆ สงบสติอารมณ์ ไปอาบน้ำ ไปทำกับข้าว ก่อนจนอารมณ์ดีค่อยกลับมาคุยกันใหม่

ฟังลูกบ้าง
คุณพ่อคุณแม่บางคนอาจต้องยอมรับว่า อาจมีบางครั้งที่คุณฟังลูกเพียงผ่าน ๆ ไม่ได้ใส่ใจอะไรกับเรื่องราวของเขามากนัก และเด็กบางคนก็มีปัญหาตรงที่ว่าเขาไม่สามารถจะบอกเล่าเรื่องราวได้อย่างที่ใจเขาต้องการ เพราะฉะนั้น การพูดและการคุยระหว่างผู้ใหญ่กับเด็ก (ในร่างผู้ใหญ่) ก็จำเป็นต้องใช้ใจร่วมด้วย พยายามเข้าใจในสิ่งที่ลูกพยายามจะสื่อ เพราะการรับฟังปัญหาของลูกถือเป็นอีกหนึ่งของขวัญที่ยิ่งใหญ่ที่คนเป็นพ่อแม่ทุกคนสามารถมอบให้กับลูกได้

อย่ายอมแพ้
บางครั้งการปะทะคารมกับลูกวัยรุ่นที่กำลังหลงผิดในกับสิ่งยั่วยุต่าง ๆ อาจทำให้พ่อแม่รู้สึกว่าเหนื่อยเหลือเกิน ปล่อยๆไปซะเลยดีมั๊ย แต่มันจะไม่ใช่เรื่องดีเลย หากพ่อแม่ยอมแพ้และปล่อยให้ลูกเดินต่อไปในทางที่มืด และเลวลงเรื่อย ๆ เพราะฉะนั้น พ่อแม่ที่ดีไม่ควรล้มเลิกความตั้งใจที่จะสั่งสอนลูกและชี้แนวทางตั้งมั่นลูก ๆ ไปในทิศทางทางที่ถูกต้อง

ลงโทษเมื่อไร
หากพบว่าลูกกระทำเรื่องที่ผิดกฎหมาย หรือผิดศีลธรรม พ่อแม่มีสิทธิทุกประการที่จะยับยั้ง และทำให้มันยุติลงให้ได้ อย่ากลัวหากจะต้องลงโทษลูกของตัวเองให้เขาสำนึกในความผิดนั้น ๆ หรือหากจำเป็นก็ควรขอความช่วยเหลือจากนักจิตวิทยา แพทย์ หรือผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ

ยืดหยุ่น
เพราะแนวทางในการดูแลลูกวัยรุ่นให้อยู่กับร่องกับรอยก็คือการให้เขาได้มีสิทธิเลือก ได้แสดงความคิดเห็น ดังนั้นพ่อแม่อาจต้องยืดหยุ่นต่อกฎต่าง ๆ มากขึ้น ปรับเทคนิคการพูดให้เหมาะสม เพื่อให้พ่อแม่ยังคงเป็นพ่อแม่ที่น่ารักของลูก ๆ วัยรุ่นอยู่ได้ เช่น หากพ่อแม่ต้องการให้เด็ก ๆ ช่วยไปทิ้งขยะ (โดยที่ลูก ๆ ไม่ค่อยอยากช่วยเท่าไร) คงไม่ดีแน่หากจะใช้การออกคำสั่งเสียงเขียวว่า ?เอาขยะไปทิ้งเดี๋ยวนี้นะ? แต่หากลองใช้ประโยคที่ว่า ?วันนี้ตาลูกไปทิ้งขยะแล้ว จะไปทิ้งขยะตอนนี้หรือจะไปหลังจากทานข้าวเสร็จ? หรือ "ลูกช่วยแม่ไปทิ้งขยะได้มั๊ยจ๊ะ เดี๋ยวแม่ต้องล้างจานซักผ้าอีก" ลูกฟังจบเขาจะพบว่ามีทางให้เขาเลือก และเขาก็จะเลือกทางที่เขาต้องการ ในกรณีหลัง ลูกอาจรู้สึกยินดีและภูมิใจที่ได้แบ่งเบาภาระของพ่อแม่ได้
เป็นบทความที่เป็นประโยชน์มากเลยค่ะ เอามาลงบ่อยๆน่ะคะ

 


Powered by EzPortal